เปรียบเทียบเกณฑ์การประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
วันที่เขียน 14/7/2558 13:52:10     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/4/2567 22:09:41
เปิดอ่าน: 3683 ครั้ง

หลังจากที่ไปอบรมผู้ประเมินการประกันคุณภาพในระบบ CUPT QA ที่ ทปอ. ได้ตกลงกันว่าจะเปลี่ยนไปใช้ระบบนี้ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2558 เป็นต้นไป ผู้เขียนจึงได้ทำตารางเปรียบเทียบเกณฑ์การประเมินแบบ สกอ. ปีการศึกษา 2552-2556 และปีการศึกษา 2557 และแบบ CUPT QA (ปีการศึกษา 2558 ที่จะเริ่ม ส.ค. นี้)

หลังจากที่ผู้เขียนไปอบรมผู้ประเมินการประกันคุณภาพในระบบ CUPT QA ที่ ทปอ. ได้ตกลงกันว่าจะเปลี่ยนไปใช้ระบบนี้ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2558 เป็นต้นไป ผู้เขียนจึงได้ทำตารางเปรียบเทียบเกณฑ์การประเมินแบบ สกอ. ปีการศึกษา 2552-2556 และปีการศึกษา 2557 และแบบ CUPT QA (ปีการศึกษา 2558 ที่จะเริ่ม ส.ค. นี้) มาใช้พิจารณาปรับปรุงกลยุทธ์ในการทำประกันคุณภาพกันต่อไป

ตารางเปรียบเทียบเกณฑ์การประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

QA ของ สกอ. 2552-2556

QA ของ สกอ. 2557

CUPT QA ของ ทปอ. 2558

1. มีแผนหรือระบบกลไก (P: Plan)

2. มีการดำเนินงานตามแผนหรือระบบกลไก (D: Do)

3. มีการประเมินผลการดำเนินงานตามแผน (C: Check)

4. มีการนำผลการประเมินมาปรับปรุงแผน (A: Action)

1. มีระบบกลไก (วิธีการดำเนินงาน)

2. มีการดำเนินงานตามระบบกลไก (วิธีการดำเนินงาน)

3. มีการประเมินกระบวนการ (วิธีการดำเนินงาน)

4. มีปรับปรุงกระบวนการ (วิธีการดำเนินงาน) จากผลการประเมิน

5. มีผลการปรับปรุงที่เห็นได้ชัดเป็นรูปธรรม

6. มีแนวทางปฏิบัติที่ดี (Good Practice)

0. มีการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ

1. มีการรายงานผลการดำเนินงาน บางประเด็น/ทุกประเด็น

2. มีแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นบางประเด็น/ทุกประเด็น

3. มีผลการดำเนินงานโดดเด่น (Best Practice) เทียบเคียงกับสถาบันกลุ่มเดียวกัน

0. มีการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ 3 ปีขึ้นไป

1. มีการรายงานผลการดำเนินงาน 3 ปีขึ้นไป บางประเด็น/ทุกประเด็น

2. มีการวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน (ทุกประเด็น) และมีผลการดำเนินงานเป็นไปตามความคาดหวัง (บางประเด็นหรือทุกประเด็นก็ได้)

3. มีแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น (บางประเด็นหรือทุกประเด็นก็ได้)

4. มีการประเมินความพึงพอใจ และนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนา

5. มีการนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาอย่างเป็นระบบ และมีผลการดำเนินงานที่ดีมากในทุกมิติ

6. มีผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศ (Excellent) เป็น world-class หรือ leading practice ที่เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กร

0. มีการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ 3 ปีขึ้นไป

1. มีการรายงานผลการดำเนินงาน 3 ปีขึ้นไป บางประเด็น/ทุกประเด็น

2. มีการวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน (ทุกประเด็น) และมีผลการดำเนินงานเป็นไปตามความคาดหวัง (บางประเด็นหรือทุกประเด็นก็ได้)

3. มีแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น (บางประเด็นหรือทุกประเด็นก็ได้)

4. มีการ benchmark ระดับประเทศ และมีผลการดำเนินงานไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ

5. มีการ benchmark ระดับประเทศและมีผลการดำเนินงานไม่น้อยกว่าคู่เทียบในระดับชั้นนำของประเทศ (สถาบันที่มีผลการดำเนินงานเหนือกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ)

6. มีผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศ (Excellent) เป็น world-class หรือ leading practice ที่เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กร

0. มีการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ 3 ปีขึ้นไป

1. มีการรายงานผลการดำเนินงาน 3 ปีขึ้นไป บางประเด็น/ทุกประเด็น

2. มีการรายงานผลที่เกิดขึ้นกับองค์กรครบถ้วน (ทุกประเด็น) และมีผลการดำเนินงานที่ดี (บางประเด็นหรือทุกประเด็นก็ได้)

3. มีการขยายผลไปในองค์กรบางส่วน/ทุกส่วน/สังคม

4. มีผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศ (Excellent) เป็น world-class หรือ leading practice ที่เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กร

อาจารย์ ดร.ชนันท์ภัสร์ ราษฎร์นิยม

โทร. 0866592018

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=389
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานการเจ้าหน้าที่
การประชุมวิชาการ » อบรมรู้จักระบบและเกณฑ์ AUN-QA ใน ๑ วัน
ตามที่คณะวิทยาศาสตร์ได้อนุญาตให้ข้าพเจ้า อาจารย์ ดร.เชิดชัย มีเอียด พนักงานมหาวิทยาลัย ตำแหน่งอาจารย์ สังกัด หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถิติฯ เข้าร่วมโครงการฝึกอบรม เรื่อง “รู้จักระบบและเกณฑ...
  กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานการเจ้าหน้าที่
ผู้เขียน เชิดชัย มีเอียด  วันที่เขียน 30/9/2565 13:58:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/4/2567 13:37:43   เปิดอ่าน 1479  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ระบบบริการของหน่วยงาน : การขอหนังสือรับรองฉบับภาษาอังกฤษ (ออนไลน์) » การขอหนังสือรับรองฉบับภาษาอังกฤษ (ออนไลน์)
การขอหนังสือรับรองฉบับภาษาอังกฤษ (ออนไลน์) เป็นการให้บริการของงานอำนวยการ กองวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานมหาวิทยาลัย แก่บุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อนำเอกสารดังกล่าว ไปใช้ประกอบการยื่นขอวีซ่าไปต่างประเท...
บุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้  ระบบ ERP  ระบบบริการของหน่วยงาน  ลดขั้นตอนการดำเนินการ  หนังสือรับรองฉบับภาษาอังกฤษ (ออนไลน์)  อำนวยความสะดวก     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานการเจ้าหน้าที่
ผู้เขียน ธัฒฌา ธนัญชัย  วันที่เขียน 14/9/2564 15:40:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/4/2567 21:56:52   เปิดอ่าน 1879  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
งานวิจัยสถาบัน » ผลงานวิจัยเรื่อง "ความพร้อมในการผลิตผลงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งที่สูงขึ้น ของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ สังกัดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่"
การวิจัยเรื่อง ความพร้อมในการผลิตผลงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งที่สูงขึ้น ของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ สังกัดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาถึงความพร้อมในกา...
  กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานการเจ้าหน้าที่
ผู้เขียน ภัคสุณีย์ ดวงงา  วันที่เขียน 5/11/2562 16:11:52  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/4/2567 9:05:38   เปิดอ่าน 3737  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การประชุมวิชาการ » การเข้าร่วมประชุมวิชาการ ICAS2018
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ จากการเข้าอบรม สัมมนา หรือประชุมวิชาการ ข้าพเจ้า นายเชิดชัย มีเอียด ตำแหน่ง อาจารย์ สังกัดสาขาวิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ขอนำเสนอรายงานสรุ...
  กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานการเจ้าหน้าที่
ผู้เขียน เชิดชัย มีเอียด  วันที่เขียน 7/10/2562 15:53:27  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/4/2567 13:34:20   เปิดอ่าน 2212  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง