องค์ความรู้ที่ได้จากการนำเสนอผลงานวิจัยเรื่อง Challenges and opportunities of landscape grass species in Cadmium Removal for Sustainable stormwater management
วันที่เขียน 6/9/2560 9:16:44     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 23/4/2567 15:14:06
เปิดอ่าน: 2312 ครั้ง

Growing urbanization and daily human activities led to significant changes in both quantity and quality of urban runoff. Heavy metals in urban runoff have been of concern to the environmental pollution due to their direct adverse effects on aquatic ecosystem. The development of green areas is one of the important strategies for the urban sustainable development. Biofiltration system, a new concept of low impact urban sustainable development, has been used to improve the quality of urban stormwater runoff. This could be done and success by applying the plant species that have the phytoremediation potential. However, the knowledge of the ability of landscape plants frequently used for Thailand greenspace development for heavy metal removal is still lacking. This study investigated the ability of three grass landscape species (Axonopus compuuressus P.Beauv, Zoysia matrella (L.) Merrill and Zoysia japonica) in treating the synthetic stormwater runoff contaminated with 1 and 3 ppm of cadmium. The highest concentration of Cd was found from the root of Z. japonica with the value 462.54 mg/kg dry wt. The average removal efficiencies by Z. japonica in the bioretention system for SS and COD were 88% and 78%, respectively. The system had high capabilities to remove TKN, NO3, PO4 and Cd from polluted stromwater up to 100%.

งานวิจัยนี้ได้มีการศึกษา หญ้า ที่ใช้ในงาน Landscape จำนวน 3 ชนิดคือ หญ้ามาเลเซีย (Axonopus compuuressus P.Beauv)หญ้านวลน้อย ( Zoysia matrslla (L.)และหญ้าญี่ปุ่น (Zoysia japonica) ในการดูด Cadmium ซึ่งเป็นโลหะหนัก ที่ปนเปื้อนในน้ำไหลนอง (Stormwater runoff) จากถนน โดยผลการศึกษาพบว่า หญ้าญี่ปุ่น มีความสามารถในการดูดแคดเมียมได้มากที่สุดโดยเก็บไว้ที่ส่วนราก นอกจากนั้นระบบ Bioretention ที่ใช้หญ้าในการจัดการน้ำฝนไหลนอง ยังมีความสามารถในการกำจัด COD และ SS ได้ 88% และ 78 % ในขณะที่สามารถกำจัด TKN NO3 PO4 และ Cd ได้ 100%

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=725
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5 มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5 ในวันที่ 28 มีนาคม 2567 เวลา 08.00 - 17.00 น. ณ ห้องเอกภพวิทยา ชั้น G อาคารจุฬาภรณ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจัดโดย...
ChatGPT  การประชุมวิชาการ  เทคโนโลยี  วิทยาศาสตร์  สิ่งแวดล้อม     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 11/4/2567 15:19:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 22/4/2567 22:17:03   เปิดอ่าน 22  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าอบรม สัมมนาหรือประชุมวิชาการ » รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมและนำเสนอผลงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมและนำเสนอผลงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5
รายงานสรุปเนื้อหา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิริพร สมุทรวชิรวงษ์  วันที่เขียน 2/4/2567 16:14:15  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/4/2567 16:56:52   เปิดอ่าน 41  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในวารสารในประเทศและวารสารต่างประเทศ
การเขียนบทความทางวิชาการเพื่อให้ได้ตีพิมพ์ในวารสารในประเทศและวารสารต่างประเทศนั้น เป็นสิ่งที่สำคัญ และจำเป็นสำหรับบุคลากรสายวิชาาร เนื่องจากหลังจากที่ทำการศึกษา วิจัย ค้นคว้า ทดลองสิ่งใหม่ ๆ ๆได้แล...
Chat GPT  บทความวิชาการ  วารสาร     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 4/3/2567 10:52:45  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 10:47:07   เปิดอ่าน 75  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง