รายงานการอบรม การประชุม
วันที่เขียน 7/9/2561 16:18:57     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/4/2567 20:47:18
เปิดอ่าน: 1954 ครั้ง

http://erp.mju.ac.th/blogCategory.aspx?goID=21

การศึกษาขนาดของจีโนมด้วยเครื่องโฟลไซโตมิเตอร์ (Flow cytometry;FCM)และการจำแนกลักษณะโครโมโซมด้วยเทคนิค Fluorescent in situ hybridization หรือ FISH ในดอกดาวเรืองสองสายพันธุ์ได้แก่ Targets erecta (ดาวเรืองแอฟริกัน) และ T. patula (ดาวเรืองฝรั่งเศษ) ผลการทดลองจากการวิเคราะห์ด้วยเครื่อง FCM พบว่าดาวเรือง Targets erecta และ T. patula ค่า 2C เท่ากับ 1.43 และ 2.54 พิโคกรัม ตามลำดับ ผลการนับจำนวนโครโมโซมพบว่า Targets erecta จำนวนโครโมโซม 2n=24 ส่วน T. patula มีจำนวนโครโมโซมเท่ากับ 2n=48 เมื่อย้อมสีโครโมโซมด้วยสารเรืองแสง CMA-DAPI พบว่ามีการติดสีทั้ง 2 ชนิดกระจายอยู่ทั่วบนโครโมโซม เทคนิค FISH แสดงให้เห็นยีนเทโลเมียร์ซึ่งติดสีเข้มมากอยู่ที่ปลายทั้งสองด้านของโครโมโซม ในขณะที่ยีน 45 rDNA ติดสีน้อยกว่า

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=863
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ความรู้จากการเข้าร่วมอบรม/สัมมนา/ประชุมวิชาการ » การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 17 เนื่องในวโรกาสคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ครบ 119 ปี เรื่อง “งานวิจัยและนวัตกรรมสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG Bio-Circular-Green Economy”
ตามที่คณะวิทยาศาสตร์ ได้อนุญาติให้ข้าพเจ้า นางอัจฉรา แกล้วกล้า ตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เข้าร่วมการประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 17 เนื่องในวโรกาสคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระนางเจ้...
  บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ผู้เขียน อัจฉรา แกล้วกล้า  วันที่เขียน 31/3/2567 11:09:58  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/4/2567 9:43:47   เปิดอ่าน 31  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง