โครงการ “แลกเปลี่ยนเรียนรู้การผลิตข่าว โดยสถานีวิทยุ Voice of America ภาคภาษาไทย ”
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองกลาง
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
โครงการ “แลกเปลี่ยนเรียนรู้การผลิตข่าว โดยสถานีวิทยุ Voice of America ภาคภาษาไทย ” มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการผลิตข่าว จากสถานีวิทยุ Voice of America ภาคภาษาไทย มีเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 81 คน แบ่งเป็นบุคลากร ร้อยละ 13.8 และ นักศึกษา ร้อยละ 86.2

ผลการประเมินผู้เข้าร่วมโครงการพบว่า
1.ความเหมาะสมของการจัดโครงการ
1.1 ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ของวิทยากร ค่าเฉลี่ย 4.70 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด
1.2 เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมโครงการซักถามและแสดงความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย4.17 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก
1.3 เอกสารประกอบการสัมมนามีความเหมาะสม ค่าเฉลี่ย3.96 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก
1.4 การเข้าร่วมโครงการทำให้ท่านมีความรู้ความเข้าใจ ค่าเฉลี่ย 4.25 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด
1.5 ท่านได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมโครงการครั้งนี้ ค่าเฉลี่ย4.24 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด
1.6 ท่านสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการประกอบการทำงาน / เรียน ค่าเฉลี่ย 4.13 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก
2.การบริหารจัดการโครงการ
2.1 การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโครงการ ค่าเฉลี่ย 3.67 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก
2.2 ความเหมาะสมของของสถานที่จัดโครงการ ค่าเฉลี่ย 4.18 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก
2.3 การอำนวยความสะดวกของเจ้าหน้าที่ ค่าเฉลี่ย 4.36 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด
2.4 ความพึงพอใจในด้านเครื่องดื่มและอาหารว่าง ค่าเฉลี่ย 4.25 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด
2.5 ความพึงพอใจในระยะเวลาการสัมมนา ค่าเฉลี่ย 4.20 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก
2.6 ความเหมาะสมของอุปกรณ์ประกอบการสัมมนา ค่าเฉลี่ย4.24 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด
รวม ค่าเฉลี่ย 4.19 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการผลิตข่าว จากสถานีวิทยุ Voice of America ภาคภาษาไทย 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการผลิตข่าว จากสถานีวิทยุ Voice of America ภาคภาษาไทย
ส่วนใหญ่ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นนักศึกษา และเป็นเพศหญิงมากที่สุด โดยผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพสื่อสารมวลชน/การเรียนด้านสื่อสารมวลชน โดยพบว่าส่วนใหญ่ให้เหตุผล คือ 1.สามารถนำประสบการณ์ของวิทยากรไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพละสร้างความน่าเชื่อถือการปฏิบัติหน้าที่ของสื่อสารมวลชนได้ดี ร้อยละ 40.5 2.สามารถนำความรู้ที่ได้ไปเป็นประสบการณ์เพื่อที่จะเป็นแรงผลัดดันในการทำงานด้านสื่อสารมวลชนได้ ร้อยละ 32.7 และ 3. การปรับตัวของการทำหน้าที่สื่อมวลชนให้มีมาตรฐานสู่ระดับสากล ร้อยละ 26.8
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การผลิตข่าว โดยสถานีวิทยุ Voice of America ภาคภาษาไทย
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เชิงปริมาณ คน 80 0.00
2. ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
3. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับองค์ความรู้ในการผลิตข่าวและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพในสื่อสารมวลชน
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 70 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
22/08/2560  - 22/08/2560 22/08/2560  - 22/08/2560
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ