11250 : การถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปและการตลาดอาหารอินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อุมาพร อุประ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 25/12/2561 14:13:54
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2560  ถึง  30/09/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  750  คน
รายละเอียด  เกษตรกรผู้ปลูกพืชอินทรีย์ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ผู้ประกอบการหรือวิสาหกิจชุมที่มีศักยภาพในการแปรรูปอาหารเพื่อการพานิชย์อื่น ๆ และประชาชนผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 2561 5,500,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อุมาพร  อุประ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61 MJU 4.4 จำนวนผลผลิต และผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการสร้างรายได้จากการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนเข้มแข็งตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง
เป้าประสงค์ เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 1 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ ขับเคลื่อนและสนับสนุนการให้บริการวิชาการเพื่อสังคม และชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

เมื่อก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นยุคของข้อมูลข่าวสารผ่านเทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย ทำให้ผู้คนในยุคนี้ได้รับข้อมูลข่าวสารที่ฉับไว รวมถึงข่าวสารข้อมูลถึงความไม่ปลอดภัยในคุณภาพของอาหาร ทำให้ผู้คนในยุคนี้หันมาให้ความสนใจในรายละเอียดในคุณภาพอาหารและคุณภาพชีวิตมากขึ้น หลายคนหันมาตื่นตัวกับกระแสบริโภคอาหารอินทรีย์ ( Organic Food ) โดยเฉพาะผู้บริโภคในแถบประเทศที่พัฒนาแล้ว อาทิ กลุ่มประเทศยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น เป็นต้น ท่ามกลางภาวะการแข่งขันอย่างรุนแรงในตลาดการค้าโลก แม้ภาคการเกษตรของไทยมีความเสี่ยงสูงที่จะเสียเปรียบในการแข่งขันในอุตสาหกรรมอาหารแต่ผลิตภัณฑ์อาหารอินทรีย์เป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของไทยที่มีศักยภาพสูง โดยเป็นอาหารที่ผลิตมาจากพืช ผัก ผลไม้ที่เจริญเติบโตขึ้นมาโดยปราศจากการใช้สารกำจัดศัตรูพืช หรือปุ๋ยวิทยาศาสตร์สังเคราะห์ ใช้อาหารที่มีอยู่ตามธรรมชาติเกือบทั้งหมด และมีมาตรฐานที่เข้มงวดที่เกษตรกรผู้ปลูกต้องปฏิบัติตาม โดยอาหารอินทรีย์ในประเทศไทยให้การรับรองโดยมาตรฐานในประเทศไทย ได้รับการรับรองโดยใช้มาตรฐานขององค์กรระหว่างประเทศที่เรียกว่า สมาพันธ์ผู้ผลักดันสินค้าเกษตรอินทรีย์นานาชาติ ( International Federation of organic Agriculture Movement : IFOAM ) ซึ่งเป็นองค์กรเอกชนที่มีสมาชิกทั่วโลกกว่า 100 ประเทศ นอกจากนั้นยังมีหน่วยงานของรัฐที่ได้ประกาศมาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สหรัฐอเมริกาถือเป็นคู่ค้าสำคัญในอุตสาหกรรมอาหารของประเทศไทยที่นิยมบริโภคอาหารอินทรีย์ ซึ่งปัจจุบันกระทรวงเกษตรของสหรัฐฯ ( USFDA ) ได้รายงานว่าร้อยละ 60 ของประชากรนิยมซื้ออาหารอินทรีย์แทนอาหารแบบเดิม ซึ่งสินค้าที่จะเข้าไปขายในประเทศสหรัฐอเมริกาจำเป็นต้องติดฉลาก “ เกษตรอินทรีย์ ” ซึ่งได้รับการรับรองตามมาตรฐาน National Organic Standards (NOS) ของสหรัฐฯ สหภาพยุโรป ( European Union : EU ) : ขณะนี้ EU ได้กำหนดแผนปฏิบัติการเพื่อการทำฟาร์มเกษตรอินทรีย์และอาหารอินทรีย์ ( European Action Plan for Organic Food and Farming ) ซึ่งเป็นแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมการทำฟาร์มอินทรีย์โดยจะเน้นในด้านการวางแผนการตลาด การวางนโยบายทางด้านการผลิต การกำหนดมาตรฐานและการตรวจสอบให้อยู่ในรูปแบบเดียวกัน ทั้งนี้ยุทธศาสตร์ในระดับ EU ได้มุ่งเจาะเป้าหมายตลาดใหม่ โดยหันมายังผู้บริโภคที่ซื้ออาหารอินทรีย์ ซึ่งให้ความสำคัญในด้านราคาเป็นหลัก และรัฐบาลให้เงินสนับสนุนช่วยเหลือในอุตสาหกรรมอาหารที่ผลิตอาหารอินทรีย์มากขึ้น และพยายาม ศึกษาวิจัยข้อมูลในด้านต่างๆ เพื่อหาวิธีช่วยเหลือให้เกษตรกรอินทรีย์มีเสถียรภาพมากขึ้น ทั้งยังทำให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศในแง่การรักษาสิ่งแวดล้อมและเป็นการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ยั่งยืนใน UK ควบคู่กันไปด้วย โดยอาหารอินทรีย์ที่จะนำเข้าไปยังยุโรปในแต่ละประเทศจะต้องขออนุญาตก่อน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจำนวน ชนิด ประเทศที่ผลิต และระยะเวลาที่อนุญาตให้นำเข้า และจะอนุญาตเฉพาะประเทศที่ขออนุญาตนำเข้าเท่านั้น เนื่องจากสินค้าที่นำเข้าสหภาพยุโรปแล้วสามารถค้ากันได้โดยเสรีระหว่างประเทศสมาชิก ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่นำเข้าอาหารจากต่างประเทศมากกว่า 3.2 ล้านล้านเยนต่อปี และมีแนวโน้มมากขึ้นในอนาคตและเป็นประเทศใส่ใจในรายละเอียดเรื่องสุขภาพมาก ต้องการอาหารที่ปลอดภัยและสะอาด ในขณะที่สินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ผลิตในประเทศญี่ปุ่นเองมีน้อยมากและยังไม่สามารถตอบสนองความต้องการของตลาดได้ทั้งหมดแม้จะมีการขยายการผลิตเพิ่มขึ้นทุกปี ถึงแม้ญี่ปุ่นจะเป็นประเทศที่พึ่งพาอาหารนำเข้าแต่ก็เป็นประเทศที่มีกฎระเบียบการนำเข้าที่เข้มงวดมากที่สุดประเทศหนึ่ง โดยมีข้อจำกัดในการนำเข้าสินค้าอาหารอินทรีย์ของญี่ปุ่นคือกำหนดมาตรฐานคุณภาพไว้สูง และต้องใช้ใบรับรองสุขอนามัยปลอดโรคพืชและแมลง ( Phytosanitary ) ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการนำเข้าผักผลไม้สดจากต่างประเทศ ผู้ส่งออกไทยที่ส่งสินค้าอาหารอินทรีย์เข้าไปจำหน่ายในญี่ปุ่นจึงจำเป็นมากที่ต้องปรับมาตรฐานให้เป็นไปตามกฎระเบียบของทางญี่ปุ่นเนื่องมาจากยังคงมีความต้องการการนำเข้าที่สูงอยู่ โดยอยู่ภายใต้กฎระเบียบมาตรฐานสินค้าเกษตรฉบับใหม่ของญี่ปุ่น ( Japan Agricultural Standard-JAS ) ซึ่งจัดทำโดยกระทรวงเกษตร ประมง และป่าไม้ของญี่ปุ่น ( Ministry of Agriculture, Fisheries and Forests - MAFF ) กำหนดให้สินค้าอาหารอินทรีย์ที่นำเข้ามายังญี่ปุ่นต้องติดฉลากที่ออกใบรับรองมาตรฐานโดยหน่วยงานที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น โดยติดตราสัญลักษณ์ JAS ปัจจุบันผลิตภัณฑ์อาหารอินทรีย์ยังมีจำนวนน้อย ทั้งนี้เนื่องจาก ผลิตภัณฑ์ที่จะกล่าวอ้างว่าเป็นอาหารอินทรีย์นั้นจะต้องระบบการผลิตที่ยังคงรักษาความเป็นอินทรีย์ของวัตถุดิบ โดยการป้องกันไม่ได้วัตถุดิบที่เป็นอาหารอินทรีย์ปนเปื้อนกับสิ่งที่ไม่ใช่อินทรีย์และสารต้องห้ามต่าง ๆ ทั้งในสภาวะการผลิตและเก็บรักษา ซึ่งจะต้องมีการกำหนดสภาวะการผลิตที่ชัดเจน การจะส่งเสริมให้มีการผลิตอาหารอินทรีย์อย่างแท้จริง จะต้องมีการให้ความรู้ด้านการแปรรูปอาหารอินทรีย์แก่ผู้ประกอบการ เกษตรกรและชุมชนที่สนใจผลิตหรือแปรรูปอาหารอินทรีย์ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์ของการแปรรูปอาหารอินทรีย์ของแต่ละหน่วยงานแม้จะมีความเข้มงวด แต่ก็ยังเปิดทางที่ช่วยให้สามารถผลิตอาหารอินทรีย์โดยมีการผ่อนผันให้มีการใช้สารเจือปนที่ช่วยในการผลิตเพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพตามต้องการเช่น เพคติน เจลาติน ในแยมหรือเยลลี่เป็นต้น ซึ่งการให้ความรู้เรื่องการแปรรูปอาหารอินทรีย์จะช่วยให้มีผลิตภัณฑ์อาหารอินทรีย์ที่ปลอดภัยสำหรับผู้บริโภคมากขึ้น และเกษตรกรก็มีทางเลือกในการจำหน่ายสินค้าอินทรีย์ในการจำหน่ายแบบสดหรือแปรรูป ซึ่งการแปรรูปก็จะช่วยเพิ่มมูลค่าอาหารอินทรีย์ไห้เป็นอาหารที่มูลค่าสูงได้ นอกจากนั้น การให้ความรู้ด้านการตลาดอาหารอินทรีย์จะช่วยในการผลิตเชิงพาณิชย์ได้ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตรจึงได้จัดตั้งหน่วยวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารอินทรีย์ ศึกษาวิจัยเรื่องการแปรรูปอาหารอินทรีย์ และนำมาถ่ายทอดให้ก่เกษตรกรลู้ประกอบการทั่วไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
7.1 เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารอินทรีย์เพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี 7.2 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน กลุ่มโอทอป และสถานประกอบการ 7.3 เพื่อจัดตั้งหน่วยวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารอินทรีย์ 7.4 เพื่อสนับสนุนให้นักศึกษาได้ผลิตผลิตภัณฑ์อาหารอินทรีย์สนันสนุนกาดแม่โจ้ 2477
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : หน่วยวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารอินทรีย์
KPI 1 : มีหน่วยวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 หน่วย 1
ผลผลิต : มีกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารอินทรีย์ใหม่
KPI 1 : มีกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารอินทรีย์ใหม่
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กระบวนการ 12
ผลผลิต : เกษตรกร/กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร/กลุ่มโอทอป/สถานประกอบการได้ความรู้เรื่องการผลิตผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์อาหารอินทรีย์
KPI 1 : เกษตรกร/กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร/กลุ่มโอทอป/สถานประกอบการได้ความรู้เรื่องการผลิตผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์อาหารอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 750
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : หน่วยวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารอินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
1. การบริหารงานส่วนกลาง การจัดตั้งหน่วยวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารอินทรีย์เพื่อทำการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อุมาพร  อุประ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางชุลีพันธ์  วงศ์คำตัน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ปวริศา  ศรีสง่า (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเจ้าหน้าที่บริหารโครงการ 1 คน x 9 เดือน x 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเจ้าหน้าเพื่อทดสอบผลิตภัณฑ์ เตรียมการฝึกอบรม และประสานงานและเป็นผู้ช่วยวิทยากรช่วยวิทยากร 1 คน x 9 เดือน x 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจัดพิมพ์รายงานผลการดำเนินการ 50 เล่ม X 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประชาสัมพันธ์โครงการ และการอบรม 1200 ชุด x 70บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 84,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าชดเชยน้ำมัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 87,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 79,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 584300.00
ชื่อกิจกรรม :
2. การจัดตั้งเครือข่ายการแปรรูปอาหารอินทรีย์ และประชุมเครือข่าย 10 ครั้ง โดยเน้นผู้นำชุมชนและผู้ที่มีศักยภาพในการแปรรูป (สถานประกอบการหรือวิสาหกิจชุมชน) จัดทำข้อมูลเครือข่าย และค้นหาความต้องการในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนันท์ภัสร์  ราษฎร์นิยม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่่าจ้างเหมารถตู้ X 1 คัน X 2500 บาท X 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเอกสารประกอบ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน 20 คน X 1 มื้อ X 150 บาท X 2 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่าง 20 คน x 1 มื้อ x 35 บาท x 2 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย 1 คน X 3 ช.ม. X 600 บาท X 2 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรเสวนา (ครั้งที่ 1) 2 คน X 2 ช.ม. X 600 บาท X 1 ครั้ง
ค่าตอบแทนวิทยากรเสวนา (ครั้งที่ 2) 3 คน X 2 ช.ม. X 600 บาท X 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 22100.00
ชื่อกิจกรรม :
3. รวบรวมข้อมูลด้านการแปรรูปอาหารอินทรีย์จัดทำแหล่งเรียนรู้ออนไลน์เพื่อให้ประชาชนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนันท์ภัสร์  ราษฎร์นิยม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 46000.00
ผลผลิต : มีกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารอินทรีย์ใหม่
ชื่อกิจกรรม :
พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารอินทรีย์เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยัีไม่น้อยกว่า 12 ชนิด โดยความร่วมมือของศูนย์นวัตกรรมอาหารและบรรจุภัณฑ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

มีผลิตภัณฑ์เป้าหมาย ดังนี้
1. น้ำส้มสายชูจากหอมแดง
2. กระเทียมดำอบแห้งแบบแช่เยือกแข็ง
3. ผลิตภัณฑ์จากมะขามป้อม
4. แยมสตรอเบอรี่และมะม่วงน้ำดอกไม้
5. น้ำผลไม้ผง
6. มะม่วงน้ำดอกไม้แช่อิ่ม อบแห้ง
7. ชาจากใบกาแฟกลิ่นรสต่าง ๆ
8. ผลิตภัณฑ์จากข้าวอินทรีย์
9. ผลิตภัณฑ์อาหารหมักจากถั่วเหลือง (นัดโต๊ะ ไวน์)
10. ขนมไทยจากข้าวอินทรีย์
11. อาหารทารกจากกล้วย
12. โอเลี้ยงหญ้าหวาน
13. บะหมี่ข้าวอินทรีย์
14. น้ำตาลอินทผลัม
15. น้ำเชื่อมอินทผลัม

หมายเหตุ: อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความต้องการของเครือข่าย หรือผู้ประกอบการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อุมาพร  อุประ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ปวริศา  ศรีสง่า (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเจ้าหน้าที่วิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ระดับปริญญาโท 1 คน x 2 เดือน x 18,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 36,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจัดพิมพ์รายงานวิจัย 15 เรื่อง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาผู้ช่วยวิจัยระดับปริญญาตรี 1 คน X 7 เดือน X 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 105,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าทดลองสูตรผลิตภัณฑ์ก่อนนำไปอบรม 10 ผลิตภัณฑ์ X 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัตถุดิบอินทรีย์ 2 ผลิตภัณฑ์ X 80,125 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 160,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาออกแบบบรรจุภัณฑ์ 12 ผลิตภัณฑ์ X 12,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 146,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 10 คน X 20 วัน X 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ 15 ผลิตภัณฑ์ X 25,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 300,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร 15 ผลิตภัณฑ์ X 36,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 540,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 77,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 90,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานครัวและบรรจุภัณฑ์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 265,450.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1835200.00
ผลผลิต : เกษตรกร/กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร/กลุ่มโอทอป/สถานประกอบการได้ความรู้เรื่องการผลิตผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์อาหารอินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
1. มีการฝึกอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีในรูปแบบกลุ่ม จำนวน 15 ครั้ง ให้แก่เกษตรกรในเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือ กลุ่มแม่บ้านเกษตร กลุ่มโอทอปและผู้ประกอบการเขตภาคเหนือ โดยเฉพาะในจังหวัดเชียงใหม่

วิทยากรในการฝึกอบรมจากคณาจารย์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคดนโลยีการอาหาร คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตรและศูนย์นวัตกรรมอาหารและบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อุมาพร  อุประ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางชุลีพันธ์  วงศ์คำตัน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบญจมาศ  ปานดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางเยาวลักษณ์  ลิลิต (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถตู้วันอบรมทั้งภายในและภายนอก 1 คัน X 2,500 บาท X 15 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 37,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่ายานพาหนะสำหรับผู้เข้าอบรม 750 คน X 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 150,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าออกแบบและทำฉลากผลิตภัณฑ์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหาร 60 คน x 4 มื้อ x 150 บาท x 15 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 540,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 60 คน x 4 มื้อ x 35 บาท x 15 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 126,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักเหมาจ่ายสำหรับผู้เข้าอบรม 750 คน x 1 วัน x 500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 375,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1,800 บาท x 15 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 27,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าถ่ายเอกสาร และพิมพ์เอกสาร 3,000 บาท x 15 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย 1 คน x 6 ชั่วโมง x 600 บาท x 15 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 54,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่มปฏิบัติ 5 คน x 8 ชั่วโมง x 300 บาท x 15 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 180,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลา 5 คน x 3 วัน x 100 บาท 15 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 22,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร อาหารและบรรจุภัณฑ์สำหรับฝึกปฏิบัติ 10 กลุ่ม x 2 วัน x 2300 บาท x 15 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 630,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 2232000.00
ชื่อกิจกรรม :
2. การจัดทำหนังสือเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการแปรรูปอาหารอินทรีย์แก่ประชาชนทั่วไป

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อุมาพร  อุประ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำต้นฉบับสำหรับพิมพ์ไม่น้อยกว่า 30 เรื่อง ตรวจรูปเล่ม เป็นบรรณาธิการสำหรับพิมพ์และจัดพิมพ์ หนังสือ "การแปรรูปอาหารอินทรีย์" ประสานงานโรงพิมพ์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 144,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาพิมพ์หนังสือ "การแปรรูปอาหารอินทรีย์" จำนวนไม่น้อยกว่า 1000 เล่ม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 300,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 444000.00
ชื่อกิจกรรม :
3. การผลิตผลิตภัณฑ์อาหารอินทรีย์ หรืออาหารปลอดภัยเพื่อสนับสนุนกาดแม่โจ้ 2477 และเป็นต้นแบบแนวคิดการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารอินทรีย์หรืออาหารปลอดภัยให้แพร่หลาย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ฤทธิชัย  อัศวราชันย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อุมาพร  อุประ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาออกแบบและบรรจุผลิตภัณฑ์ในภาชนะบรรจุ 12,000 ชิ้น x 8 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 96,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าปฏิบัติงานนักศึกษา 3 คน x 120 วัน x 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 72,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัตถุดิบ ส่วนผสมและบรรจุภัณฑ์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 84,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 252000.00
ชื่อกิจกรรม :
4. การประมินความสำเร็จของโครงการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อุมาพร  อุประ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะเดินทางเพื่อเก็บข้อมูลประกอบการประเมินโครงการ 2 วัน x 2,500 บาท X 10 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง 3 คน x 2 วัน x 240 บาท x 10 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 84400.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล