11270 : โครงการการจัดการทางการเกษตรเพื่อลดผลกระทบและตั้งรับการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ (9 จังหวัดภาคเหนือตอนบน)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
นางอารีรักษ์ วิชัยศรี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/10/2560 16:55:10
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/10/2560  ถึง  30/09/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  500  คน
รายละเอียด  เกษตรกรภาคเหนือตอนบน กลุ่มยุวเกษตรกร (ถ่ายทอดองค์ความรู้) และเกษตรกรที่อยู่ภายใต้โครงการต่างๆของสำนักงานส่งเสริมการเกษตร จังหวัดเชียงใหม่ นักวิจัยที่เกี่ยวข้องภายใต้การส่งเสริมการทำงานของ สวทช ภาคเหนือ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี พ.ศ.2561
แผนงานบูรณาการ
แผนงานรอง: แผนงานบูรณาการเสริมสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศ (พื้นที่ภาคเหนือ)
โครงการบริหารจัดการหมอกควันและขยะภาคเหนือ
กิจกรรมหลัก แก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันอย่างยั่งยืน
แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม
งานบริการวิชาการแก่ชุมชน
กองทุนบริการวิชาการ
งบเงินอุดหนุน
งบเงินอุดหนุนทั่วไป
เงินอุดหนุนโครงการแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันอย่างยั่งยืน
(โครงการจัดการทางการเกษตรเพื่อลดผลกระทบและตั้งรับการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ)
2561 12,000,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภธิดา  อ่ำทอง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61 MJU 4.6 รายได้ที่เพิ่มขึ้นของผู้เข้าร่วมโครงการบริการวิชาการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรายได้ให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2560] ประเด็นยุทธศาสตร์ 60 ผก. 3 ถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาและยกระดับชุมชน สังคม
เป้าประสงค์ 60 ผก. 3.1 ถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมที่มีศักยภาพเพื่อพัฒนาต่อยอดให้ชุมชนเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด 60 ผก 3.1 จำนวนชุมชนที่ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้และมีศักยภาพสามารถพัฒนาตนเองได้อย่างยั่งยืน
กลยุทธ์ 60 ผก. 3.1 จัดทำกระบวนการบริการวิชาการโดยถ่ายทอดงานวิจัยหหรือนวัตกรรมสู่ชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การผันแปรของสภาพอากาศของประเทศไทยต่อการเกษตรปัจจุบันทุกประเทศได้ตระหนักถึงภัยจากภาวะโลกร้อนที่จะส่งผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศที่ผันแปรในแต่ละปี โดยเฉพาะในช่วงระยะ 2–3 ปีที่ผ่านมา ทุกคนได้ตื่นตัวและสังเกตว่าภัยพิบัติจากธรรมชาติมีความรุนแรงมากขึ้น จึงพยายามร่วมมือกันศึกษาและหาวิธีการที่จะลดและบรรเทาผลกระทบของความรุนแรงที่จะเกิดจากการผันแปรภูมิอากาศ เพื่อหาแนวทางเฝ้าระวังและรับสถานการณ์จากสภาวะโลกร้อนที่กำลังเกิดขึ้น วิธีการหนึ่งที่จะใช้เป็นดัชนีบ่งชี้ถึงความรุนแรงของภัยธรรมชาตินี้ คือ การศึกษาและวิเคราะห์ของปรากฏการณ์เอลนีโญ/ ลานีญา ที่จะมีผลต่อความแปรปรวนในบรรยากาศโลก การผันแปรรายทศวรรษบริเวณประเทศไทย จากผลการคาดการณ์อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยมีพื้นที่ของอากาศร้อนเพิ่มมากขึ้นในแต่ละทศวรรษ ส่วนอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ยจะกลับกัน คือพื้นที่ที่มีอากาศเย็นลดลง สำหรับปริมาณฝนมีแนวโน้มไม่ชัดเจน แต่หากเปรียบเทียบทศวรรษที่ 2090 (ค.ศ.2081–2090) กับทศวรรษที่ 2000 (ค.ศ.1991–2000) ปริมาณฝนจะเพิ่มทางบริเวณภาคใต้ โดยเฉพาะภาคใต้ตอนล่าง และบางพื้นที่ ของภาคตะวันออก ในช่วงศตวรรษที่ 20 นี้โลกไม่ได้อุ่นขึ้นในช่วงจังหวะเวลาเดียวกัน การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิที่พบมีการสลับกับช่วงที่อุณหภูมิคงที่หรือลดลง ซึ่งอธิบายได้ว่าเป็นช่วงที่แนวโน้มความอบอุ่นของโลกชะลอตัวลง (เกิดจากมนุษย์) และเป็นความผันแปรของภูมิอากาศที่เกิดจากธรรมชาติ โดยในยุคปัจจุบันช่วงต้นศตวรรษที่ 21 นี้ยังคงอยู่ในช่วงที่มีการหยุดชะงักของอุณหภูมิผิวพื้น ซึ่งไม่ได้เพิ่มขึ้นในอัตราเดียวกันกับการเพิ่มขึ้นของบรรยากาศที่เกิดจากการขับเคลื่อนของการแผ่รังสี อย่างไรก็ตามในช่วงตั้งแต่ปี พ.ศ.2523 เป็นต้นมา ภาวะโลกร้อนได้เริ่มมีส่วนที่ส่งเสริมให้อุณหภูมิเฉลี่ยรายเดือนของประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่ชั้นบรรยากาศที่เพิ่มสูงขึ้นก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจกที่เป็นตัวการสำคัญในการสร้างความผันแปรของภูมิอากาศ ซึ่งมีผลต่อลักษณะอากาศทั่วโลก ในการที่จะลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการเกษตรจึงเป็นแนวทางที่โครงการนี้ให้ความสำคัญ โดยเฉพาะที่มาจากการสลายตัวของพวกสารอินทรีย์ต่างๆ โดยมีการจัดการดินเป็นสิ่งกระตุ้น เช่น การไถพรวน การเผาซากต่อซัง การใส่ปุ๋ยเคมีไม่ถูกวิธี เป็นต้น ซึ่งถ้ามีการจัดการดินที่เอื้อต่อการเก็บอินทรีย์คาร์บอนในรูปของอินทรียวัตถุในดิน การผันแปรของสภาพอากาศของเอเชียการให้ผลผลิตของพืชในเกือบทุกประเทศในเอเชียมีแนวโน้มลดลง ซึ่งดูเหมือนจะเกิดจากการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิ ซึ่งส่งผลทำให้เกิดการระบาดของโรคพืชและการขาดน้ำมากขึ้นและถี่ขึ้นในเขตเอเชียกลาง เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศบก (Terrestrial ecosystem) และระบบนิเวศมหาสมุทร (Marine ecosystems) เริ่มปรากฏชัดขึ้น (HC) การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิจะทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น มีพายุหมุนรุนแรงขึ้น (Intense cyclonic variability) คลื่นและลมในทะเลสูงมากขึ้น ทำให้เกิดภัยพิบัติต่อพื้นที่ชายฝั่งในเขตเอเชียตะวันตก เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากยิ่งขึ้น อุณหภูมิพื้นผิวที่ร้อนขึ้นและการผิดเพี้ยนไป (Shift) ของฤดูฝนในเกือบทุกประเทศของทวีปเอเชีย จะทำให้ผลผลิตพืชลดลง (MC) เนื่องจากความเครียดที่เกิดจากความร้อน (Thermal stress) ความแห้งแล้งและอุทกภัยจะรุนแรงขึ้น อันเนื่องจากความเสื่อมโทรมของดิน (Soil degradation) การผันแปรของอากาศต่อการลดลงของน้ำเพื่อการเกษตร เช่น ปริมาณฝนสะสมรายปีปี 2557 มีปริมาณฝนรวมทั้งประเทศมีเพียง 1,370 มิลลิเมตร น้อยกว่าค่าเฉลี่ยเพียง 0.29% และมากกว่าปี 2548 ที่ประเทศไทยเกิดภัยแล้งรุนแรงอยู่ 0.81% แต่หากพิจารณาลักษณะการกระจายตัวของฝนในปี 2557 และ 2548 พบว่ามีความต่างกัน โดยปี 2548 มีการกระจายตัวของฝนมากกว่าปี 2557 ที่มีฝนตกหนักกระจุกตัวเป็นหย่อมๆ ตามแนวขอบประเทศ รวมทั้งภาคใต้มีฝนตกมาก ทำให้ค่าฝนเฉลี่ยรวมทั้งประเทศสูงขึ้นมาใกล้เคียงค่าเฉลี่ย แต่บริเวณตอนกลางของประเทศกลับมีฝนตกน้อยมาก และหากเทียบกับแผนภาพฝนตั้งแต่ปี 2548-2556 จะพบว่าปี 2557 มีพื้นที่ฝนตกน้อยกระจายตัวครอบคลุมพื้นที่ประเทศไทยมากที่สุด โดยเฉพาะบริเวณตอนกลางของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ภาคเหนือ ภาคกลาง ด้านตะวันตกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ตอนบน ทั้งนี้เป็นลักษณะของฝนที่ตกน้อยต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2555 หากพิจารณาปริมาณฝนแยกเป็นรายภาค พบว่าปี 2557 ภาคเหนือมีปริมาณฝนน้อยกว่าค่าเฉลี่ยและน้อยกว่าทุกปียกเว้นปี 2552 ที่ภาคเหนือมีฝนตกน้อยมาก จนส่งผลให้เกิดภัยแล้งรุนแรงในปี 2553 สำหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีปริมาณฝนมากกว่าค่าเฉลี่ย รวมทั้งมากกว่าปี 2548 และปี 2553 ที่ประเทศไทยเกิดภัยแล้งรุนแรง ส่วนภาคกลางและภาคตะวันออกมีปริมาณฝนน้อยที่สุดในรอบ 10 ปี ภาคใต้ทั้งฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตกมีฝนค่อนข้างมาก โดยมากกว่าค่าเฉลี่ยทั้งสองภาค และเมื่อเข้าสู่ต้นปี 2558 ช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน สถานการณ์ฝนยังคงตกค่อนข้างน้อยต่อเนื่อง ซึ่งถือเป็นสถานการณ์ปกติเนื่องจากยังอยู่ในช่วงฤดูแล้ง มีเพียงบางพื้นที่ของภาคเหนือและภาคกลางที่มีฝนตกกระจุกมากกว่าปกติ ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน นอกจากนี้ความชื้นในอากาศ พบว่าจากการตรวจวัดค่าความชื้นด้วยระบบโทรมาตรตรวจวัดอากาศของสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) พบว่าช่วงฤดูแล้งปี 57/58 บริเวณตอนบนของประเทศมีค่าความชื้นลดต่ำลงมากในเดือนกุมภาพันธ์และเดือนมีนาคม ปี 2558 บริเวณภาคเหนือและแนวด้านตะวันตกของประเทศ แต่หากเทียบกับปี 2557 พบว่าพื้นที่ดังกล่าวยังคงมีความชื้นสูงกว่า สำหรับปริมาณฝนสะสมช่วงฤดูแล้ง พบว่าจากแผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมช่วงฤดูแล้งเปรียบเทียบระหว่างฤดูแล้งปี 2547/2548, 2552/2553, 2555/2556, 2556/2557 และ 2557/2558 พบว่าช่วงฤดูแล้งปี 2557/2558 มีปริมาณฝนสะสมใกล้เคียงฤดูแล้งปี 2555/2556 แต่ปี 2557/2558 มีลักษณะเป็นฝนที่ตกกระจุกตัวเป็นหย่อมๆ ในพื้นที่ภาคเหนือและภาคกลางมากกว่าปีอื่นๆ และส่วนใหญ่อยู่นอกพื้นที่รับน้ำของอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ ซึ่งไม่ช่วยเพิ่มปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำ นอกจากนี้บริเวณภาคตะวันออกบริเวณจังหวัดตราด จันทบุรี มีฝนตกน้อยกว่าปีอื่นๆ มาก ผลกระทบวิกฤตการณ์ขาดน้ำของประเทศไทยที่มีสังคมและเศรษฐกิจ โดยภัยแล้งในประเทศไทยมีผลกระทบโดยตรงกับการเกษตรและแหล่งน้ำ เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศที่ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ภัยแล้ง จึงส่งผลเสียหายต่อกิจกรรมทางการเกษตร เช่น พื้นดินขาดความชุ่มชื้น พืชขาดน้ำ พืชชะงักการเจริญเติบโต ผลผลิตที่ได้มีคุณภาพต่ำ รวมถึงปริมาณลดลง ส่วนใหญ่ภัยแล้งที่มีผลต่อการเกษตรมักเกิดในฤดูฝนที่มีฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานาน นอกจากนี้ประเทศไทยยังประสบปัญหาพื้นที่แล้งซ้ำซาก โดยเป็นพื้นที่ที่มีความแห้งแล้งด้านการเกษตรและเป็นพื้นที่เกิดขึ้นเป็นประจำหรือบ่อยครั้งความแห้งแล้งด้านการเกษตร ซึ่งมีสภาวะที่มีฝนน้อยหรือไม่มีฝนทำให้เกิดการขาดแคลนน้ำสำหรับพืชทำให้พืชได้รับความเสียหายเป็นบริเวณกว้าง ซึ่งผลกระทบที่เกิดขึ้นด้านต่างๆ ด้านเศรษฐกิจ: สิ้นเปลืองและสูญเสียผลผลิตด้านเกษตร ปศุสัตว์ ป่าไม้ การประมง เศรษฐกิจทั่วไป เช่น ราคาที่ดินลดลง โรงงานผลิตเสียหาย การว่างงาน สูญเสียอุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยว พลังงาน อุตสาหกรรมขนส่ง ด้านสิ่งแวดล้อม: ส่งผลกระทบต่อสัตว์ต่าง ๆ ทำให้ขาดแคลนน้ำ เกิดโรคกับสัตว์ สูญเสียความหลากหลายพันธุ์ รวมถึงผลกระทบด้านอุทกวิทยา ทำให้ระดับและปริมาณน้ำลดลง พื้นที่ชุ่มน้ำลดลง ความเค็มของน้ำเปลี่ยนแปลง ระดับน้ำในดินเปลี่ยนแปลง คุณภาพน้ำเปลี่ยนแปลง เกิดการกัดเซาะของดิน ไฟป่าเพิ่มขึ้น ส่งผลต่อคุณภาพอากาศและสูญเสียทัศนียภาพ เป็นต้น ด้านสังคม: เกิดผลกระทบในด้านสุขภาพอนามัย เกิดความขัดแย้งในการใช้น้ำและการจัดการคุณภาพชีวิตลดลและจากภาวะแห้งแล้งที่เกิดขึ้นในช่วงปี 2558 นั้นเกิดผลกระทบต่อเกษตรกรผู้ปลูกข้าวเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะการเกิดภาวะเครียด ซึ่งได้รับการทนทุกข์จากการไม่มีน้ำใช้สำหรับการปลูกข้าว ในพื้นที่เกษตรต่างๆ เช่น พื้นที่ดินปลูกข้าวอินทรีย์นั้น การที่ดินมีอินทรียวัตถุเพิ่มขึ้นมาจากการให้ปุ๋ยอินทรีย์ต่างๆ ซากตอซังข้าว หรือเศษรากพืชที่มีการไถกลบหรือปล่อยไว้ในพื้นที่ ซึ่งปริมาณหรือคุณภาพของวัสดุอินทรีย์ดังกล่าวนี้จะมีปัจจัยอื่นๆ มีผลกระทบด้วย เช่น การใส่ปุ๋ยเคมีส่งผลให้ปริมาณอินทรีย์คาร์บอนเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกว่าการที่ไม่มีการใส่ปุ๋ยเคมี หรือระบบการปลูกพืช โดยถ้าระบบปลูกข้าว-ข้าว ซึ่งมีระบบการขังน้ำมีปริมาณอินทรีย์คาร์บอนที่เพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกว่าระบบการปลูกข้าวสาลี่-ข้าวโพด ซึ่งดินมีสภาพเป็นดินไร่ (ไม่มีการขังน้ำ) (Tong et al., 2009) หรือรูปแบบการใช้ที่ดินโดยที่ทำการเกษตรมีแนวโน้มในการสะสมอินทรีย์คาร์บอนในดิน (soil organic carbon sequestered) สูงกว่าดินที่ไม่ทำการเกษตร โดยเป็นผลมาจากดินที่ใช้เพื่อการเกษตรนั้นมีการใส่ปุ๋ยเคมี/ปุ๋ยอินทรีย์ ซึ่งเป็นเพิ่มผลิตภาพของดินและปริมาณอินทรียวัตถุในดินด้วย (Aumtong et al., 2009) นอกจากปริมาณและคุณภาพของวัสดุอินทรีย์ที่ให้กับดิน ยังขึ้นอยู่กับปริมาณอินทรียวัตถุเดิมของดินและการควบคุมการสลายตัวของอินทรียวัตถุโดยดิน โดยมีปัจจัยต่างๆ ที่ควบคุมการสลายของอินทรียวัตถุ ได้แก่ องค์ประกอบของอินทรียวัตถุ ชนิดของเนื้อดิน และโครงสร้างของดิน จากปัจจัยเหล่านี้ Six et al. (2002) ได้เสนอเป็นกลไกการควบคุมการสลายของอินทรียวัตถุเป็นทางชีวเคมี เคมี และทางกายภาพ ตามลำดับ ซึ่งอินทรีย์คาร์บอนส่วนนี้จะถูกปกป้องจากการถูกย่อยสลาย จากเหตุผลต่าง ๆ ดังนั้นจึงเป็นที่มาของการสะสมของ C ในดิน ดังนั้นในการจัดการดินอย่างเหมาะสมและส่งเสริมความอุดมสมบูรณ์และยังรวมถึงลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จึงเป็นทั้งแนวทางที่ชะลอการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับโลก และลดผลกระทบต่างๆที่จะเกิดขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อจัดการองค์ความรู้การจัดการดิน น้ำ และปัจจัยการผลิตภายใต้ระบบการผลิตการเกษตรในการลดก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากภาคเกษตร
เพื่อพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศระดับท้องถิ่น (ภาคเหนือของไทย) สำหรับการตั้งรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก
เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการเกษตรให้แก่เกษตรกรเพื่อตั้งรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฐานข้อมูลทรัพยากรดิน แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร และระบบการเกษตร แปลงสาธิตเพื่อการอบรมเชิงปฏิบัติการ และผลการดำเนินการ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
KPI 1 : แผนที่การเก็บรักษาคาร์บอน แผนที่ความอุดมสมบูรณ์ของดินภายใต้การปลูกข้าว ไม้ผล และพืชไร่ โดยนำเสนอแบบออนไลน์ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 แผนที่ 100
KPI 2 : โปรไฟล์ดินภายใต้การปลูกข้าว ไม้ผล และพืชไร่ โดยนำเสนอแบบออนไลน์ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 โปรไฟล์ 36
ผลผลิต : ผลการประเมินการจัดการดินที่มีศักยภาพในการลดปลดปล่อยและเก็บรักษาคาร์บอนไว้ในดิน (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
KPI 1 : การประเมินประสิทธิภาพการใช้องค์ความรู้คำแนะนำและฐานข้อมูลการจัดการปุ๋ยและแนวทางการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก (CO2, N2O, CH4) จากระบบการปลูกข้าว ไม้ผล และพืชไร่
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 3
KPI 2 : ข้อมูลปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก (CO2, N2O, CH4) ของระบบการจัดการของโครงการเทียบกับระบบของเกษตรกร (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 จังหวัด 9
KPI 3 : องค์ความรู้คำแนะนำและฐานข้อมูลการจัดการปุ๋ยและแนวทางการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก (CO2, N2O, CH4) จากระบบการปลูกข้าว ไม้ผล และพืชไร่ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 องค์ความรู้ 1
KPI 4 : ฐานข้อมูลแนวทางการจัดการดินที่มีศักยภาพในการลดปลดปล่อยและเก็บรักษาคาร์บอนไว้ในดิน (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ฐานข้อมูล 10
ผลผลิต : ฐานข้อมูลความอุดมสมบูรณ์ของดิน (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
KPI 1 : การประเมินประสิทธิภาพการใช้องค์ความรู้คำแนะนำและฐานข้อมูลการจัดการปุ๋ยและแนวทางการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก (CO2, N2O, CH4) จากระบบการปลูกข้าว ไม้ผล และพืชไร่
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 3
ผลผลิต : ระบบการจัดการธาตุอาหารพืชของพืชเศรษฐกิจ ในระบบต่าง ๆ และผลการดำเนินการ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
KPI 1 : องค์ความรู้คำแนะนำและฐานข้อมูลการจัดการปุ๋ยและแนวทางการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก (CO2, N2O, CH4) จากระบบการปลูกข้าว ไม้ผล และพืชไร่ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 องค์ความรู้ 1
KPI 2 : การประเมินประสิทธิภาพการใช้องค์ความรู้คำแนะนำและฐานข้อมูลการจัดการปุ๋ยและแนวทางการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก (CO2, N2O, CH4) จากระบบการปลูกข้าว ไม้ผล และพืชไร่
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 3
ผลผลิต : ระบบการจัดการน้ำของพืชเศรษฐกิจ ในระบบต่าง ๆ และผลการดำเนินการ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
KPI 1 : การประเมินประสิทธิภาพการใช้องค์ความรู้การจัดการน้ำและการพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ใช้ในการระวังภัยสำหรับระบบการปลูกข้าว ไม้ผล และพืชไร่
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 3
KPI 2 : องค์ความรู้การจัดการน้ำและการพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ใช้ในการระวังภัยสำหรับระบบการปลูกข้าว ไม้ผล และพืชไร่ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 องค์ความรู้ 1
ผลผลิต : การพัฒนาและประเมินองค์ความรู้การพยากรณ์ภูมิอากาศและปริมาณน้ำเพื่อการเกษตรสำหรับพืชเศรษฐกิจภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
KPI 1 : องค์ความรู้การจัดการน้ำและการพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ใช้ในการระวังภัยสำหรับระบบการปลูกข้าว ไม้ผล และพืชไร่ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 องค์ความรู้ 1
KPI 2 : การพยากรณ์ความเป็นประโยชน์ของธาตุทรัพยากรดิน น้ำ และพืช สำหรับระบบการปลูกข้าว ไม้ผล และพืชไร่ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 จังหวัด 9
KPI 3 : การประเมินประสิทธิภาพการใช้องค์ความรู้การจัดการน้ำและการพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ใช้ในการระวังภัยสำหรับระบบการปลูกข้าว ไม้ผล และพืชไร่
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 3
ผลผลิต : ถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีทางการเกษตรและการบูรณาการเข้ากับการเรียนการสอนทางด้านปฐพีศาสตร์ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
KPI 1 : การนำองค์ความรู้มาปรับใช้ในระบบการปลูกข้าว ไม้ผล และพืชไร่ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่เกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 500
KPI 2 : การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์ (เพิ่มเติม) จากคำแนะนำหรือข้อปฏิบัติจากผลลัพธ์การประเมินประสิทธิภาพการใช้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 3
ผลผลิต : ผลการติดตาม ประเมินผล และการดำเนินงานโครงการส่วนกลาง
KPI 1 : จำนวนกิจกรรมที่สามารถดำเนินงานได้บรรลุตามเป้าหมาย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิจกรรม 8
KPI 2 : ร้อยละของผลการดำเนินงานโครงการตามวัตถุประสงค์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฐานข้อมูลทรัพยากรดิน แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร และระบบการเกษตร แปลงสาธิตเพื่อการอบรมเชิงปฏิบัติการ และผลการดำเนินการ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การรวบรวมฐานข้อมูลทรัพยากรดิน แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร และระบบการเกษตร จัดทำแปลงสาธิตเพื่อการอบรมเชิงปฏิบัติการ และติดตามประเมินผลการดำเนินการ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภธิดา  อ่ำทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก จำนวน 3 คน คนละ 750 บาท จำนวน 16 ครั้ง เป็นเงิน 36,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 36,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 3 คน คนละ 240 บาท จำนวน 20 ครั้ง เป็นเงิน 14,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมายานพาหนะ จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 3 คัน คันละ 5 วัน ครั้งละ 2,500 บาท เป็นเงิน 150,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 150,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนโครงการในการเก็บตัวอย่างดิน พืช และจัดเตรียมแปลงสาธิตสำหรับการฝึกอบรม จำนวน 3 คน คนละ 15,000 บาท จำนวน 9 เดือน เป็นเงิน 405,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 405,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนโครงการทางด้านการจัดทำฐานข้อมูลการจัดการดิน น้ำ ปุ๋ยทางด้านการเกษตรสำหรับการอบรมและแปลงสาธิต จำนวน 3 คน คนละ 15,000 บาท จำนวน 9 เดือน เป็นเงิน 405,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 405,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนโครงการในการจัดทำแผนที่กำหนดจุดการเก็บตัวอย่างดิน แผนที่อินทรียวัตถุ และความอุดมสมบูรณ์ของดิน จำนวน 2 คน คนละ 15,000 บาท จำนวน 9 เดือน เป็นเงิน 270,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 270,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนโครงการด้านรวบรวมข้อมูล จัดทำเอกสารเผยแพร่โครงการ (งานฝึกอบรม)และติดตามผล จำนวน 1 คน คนละ 15,000 บาท จำนวน 9 เดือน เป็นเงิน 135,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริกรสนับสนุนโครงการในการจัดทำโปรไฟล์ดินและวินิจฉัยชั้นดิน จำนวน 1 คน คนละ 15,000 บาท จำนวน 9 เดือน เป็นเงิน 135,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการผู้ปฏิบัติงานสนับสนุนโครงการฝ่ายประสานงาน วุฒิปริญญาโท จำนวน 1 คน จำนวน 9 เดือน ๆ ละ 18,000 บาท รวมเป็นเงิน 162,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 162,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่าที่ดิน จำนวน 6 แปลง แปลงละ 3,000 บาท เป็นเงิน 18,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 18,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 10 ป้าย ป้ายละ 500 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าแผ่นพับ 1,000 ใบๆละ 3 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื่อเพลิง จำนวน 10 ครั้ง ครั้งละ 4 วัน วันละ 2 คัน คันละ 2,500 บาท เป็นเงิน 200,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 200,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก จำนวน 1 คน คนละ 750 บาท จำนวน 34 ครั้ง เป็นเงิน 25,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 25,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 1 คน คนละ 240 บาท จำนวน 40 ครั้ง เป็นเงิน 9,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 68,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 68,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าปฏิบัติงานนอกเวลา (วันจันทร์ - ศุกร์) จำนวน 1 คน คนละ 100 บาท จำนวน 20 ครั้ง เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าปฏิบัติงานนอกเวลา (วันเสาร์ - อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์) จำนวน 1 คน คนละ 200 บาท จำนวน 10 ครั้ง เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงินจำนวน 11,631 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,631.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน จำนวน 1 ครั้ง ครั้งละ 250,000 บาท เป็นเงิน 250,000 บาท (150,000 + 100,000)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 250,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 ครั้ง ครั้งละ 415,169 บาท เป็นเงิน 415,169 บาท (315,169 + 100,000)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 415,169.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร จำนวน 1 ครั้ง ครั้งละ 550,000 บาท เป็นเงิน 550,000 บาท (450,000 + 100,000)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 550,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ จำนวน 1 ครั้ง ครั้งละ 372,060 บาท เป็นเงิน 372,060 บาท (250,000 + 122,060)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 372,060.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 3644360.00
ผลผลิต : ผลการประเมินการจัดการดินที่มีศักยภาพในการลดปลดปล่อยและเก็บรักษาคาร์บอนไว้ในดิน (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 :การประเมินการจัดการดินที่มีศักยภาพในการลดปลดปล่อยและเก็บรักษาคาร์บอนไว้ในดิน (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภธิดา  อ่ำทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 3 คน คนละ 240 บาท จำนวน 20 ครั้ง เป็นเงิน 14,400 บา
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก จำนวน 3 คน คนละ 750 บาท จำนวน 16 ครั้ง เป็นเงิน 36,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 36,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมายานพาหนะ จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 3 คัน คันละ 5 วัน ครั้งละ 2,500 บาท เป็นเงิน 150,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 150,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนโครงการในการจัดทำฐานข้อมูลความหลากหลายและบทบาทของสัตว์ในดินภายใต้ดินที่ใช้เพื่อการเกษตรต่อการกักเก็บคาร์บอนในดิน จำนวน 1 คน คนละ 15,000 บาท จำนวน 9 เดือน เป็นเงิน 135,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนโครงการในการเก็บและเตรียมตัวอย่างก๊าซ CO2, N2O และ CH4 (ห้องปฏิบัติการและภาคสนาม) จำนวน 1 คน คนละ 15,000 บาท จำนวน 9 เดือน เป็นเงิน 135,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์แก๊ซ ด้วยเครื่องโครมาโตกราฟฟี (GC) จำนวน 5 ครั้ง 25 ตัวอย่าง ตัวอย่างละ 1,600 บาท เป็นเงิน 200,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 200,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนโครงการในการจัดทำแบบจำลองคาดการณ์การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก (CO2, N2O และ CH4) จำนวน 1 คน คนละ 15,000 บาท จำนวน 9 เดือน เป็นเงิน 135,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนโครงการในการจัดทำแบบจำลองคาดการณ์การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก (CO2, N2O และ CH4) (ป.โท) จำนวน 1 คน คนละ 18,000 บาท จำนวน 9 เดือน เป็นเงิน 162,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 162,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์แก๊ส (ครั้งที่ 2) ด้วยเครื่องโครมาโตกราฟฟี (GC) จำนวน 1 ครั้ง ครั้งละ 20 ตัวอย่าง ตัวอย่างละ 1,600 บาท เป็นเงินจำนวน 32,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 32,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าปฏิบัติงานนอกเวลา (วันจันทร์ - ศุกร์) จำนวน 1 คน คนละ 100 บาท จำนวน 20 ครั้ง เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าปฏิบัติงานนอกเวลา (วันเสาร์ - อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์) จำนวน 1 คน คนละ 200 บาท จำนวน 10 ครั้ง เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 ครั้ง ครั้งละ 1,00,000 บาท เป็นเงิน 1,000,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน จำนวน 1 ครั้ง เป็นเงิน 49,320 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 49,320.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร จำนวน 1 ครั้ง ครั้งละ 380,400 บาท เป็นเงิน 380,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 380,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ จำนวน 1 ครั้ง ครั้งละ 290,080 บาท เป็นเงิน 290,080 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 290,080.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 2723200.00
ผลผลิต : ฐานข้อมูลความอุดมสมบูรณ์ของดิน (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 :การจัดทำฐานข้อมูลความอุดมสมบูรณ์ของดิน (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภธิดา  อ่ำทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนโครงการในการวิเคราะห์คุณสมบัติของดิน จำนวน 6 คน คนละ 15,000 บาท จำนวน 9 เดือน เป็นเงิน 810,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 810,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าปฏิบัติงานนอกเวลา (วันจันทร์ - ศุกร์) จำนวน 1 คน คนละ 100 บาท จำนวน 20 ครั้ง เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าปฏิบัติงานนอกเวลา (วันเสาร์ - อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์) จำนวน 1 คน คนละ 200 บาท จำนวน 10 ครั้ง เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 ครั้ง ครังละ 1,000,000 บาท เป็นเงิน 1,000,000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร จำนวน 1 ครั้ง ครั้งละ 300,000 บาท เป็นเงิน 300,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 300,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 2114000.00
ผลผลิต : ระบบการจัดการธาตุอาหารพืชของพืชเศรษฐกิจ ในระบบต่าง ๆ และผลการดำเนินการ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 4 :การจัดทำระบบการจัดการธาตุอาหารพืชของพืชเศรษฐกิจ ในระบบต่าง ๆ และติดตามประเมินผลการดำเนินการ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 18/10/2560
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภธิดา  อ่ำทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 3 คน คนละ 240 บาท จำนวน 20 ครั้ง เป็นเงิน 14,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก จำนวน 3 คน คนละ 750 บาท จำนวน 16 ครั้ง เป็นเงิน 36,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 36,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมายานพาหนะ จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 3 คัน คันละ 5 วัน ครั้งละ 2,500 บาท เป็นเงิน 150,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 150,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนโครงการในการจัดทำข้อมูล เพื่อจัดทำระบบการจัดการธาตุอาหารสำหรับพืชเศรษฐกิจ จำนวน 3 คน คนละ 15,000 บาท จำนวน 9 เดือน เป็นเงิน 405,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 405,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าปฏิบัติงานนอกเวลา (วันเสาร์ - อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์) จำนวน 1 คน คนละ 200 บาท จำนวน 10 ครั้ง เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าปฏิบัติงานนอกเวลา (วันจันทร์ - ศุกร์) จำนวน 1 คน คนละ 100 บาท จำนวน 20 ครั้ง เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 ครั้ง ครั้งละ 745,200 บาท เป็นเงิน 745,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 745,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1354600.00
ผลผลิต : ระบบการจัดการน้ำของพืชเศรษฐกิจ ในระบบต่าง ๆ และผลการดำเนินการ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 5 :การจัดทำระบบการจัดการน้ำของพืชเศรษฐกิจ ในระบบต่าง ๆ และติดตามประเมินผลการดำเนินการ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภธิดา  อ่ำทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนโครงการในการวิเคราะห์พืชเพื่อประกอบการคำนวณการใช้น้ำของพืชเศรษฐกิจ จำนวน 2 คน คนละ 15,000 บาท จำนวน 9 เดือน เป็นเงิน 270,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 270,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริกรสนับสนุนโครงการในการจัดทำและติดตามประเมินผลข้อมูลการพยากรณ์สภาพภูมิอากาศ จำนวน 2 คน คนละ 15,000 บาท จำนวน 9 เดือน เป็นเงิน 270,000
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 270,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าปฏิบัติงานนอกเวลา (วันจันทร์ - ศุกร์) จำนวน 1 คน คนละ 100 บาท จำนวน 20 ครั้ง เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าปฏิบัติงานนอกเวลา (วันเสาร์ - อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์) จำนวน 1 คน คนละ 200 บาท จำนวน 10 ครั้ง เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าสดุวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 ครั้ง ครั้งละ 5000,000 บาท เป็นเงิน 500,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 500,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1044000.00
ผลผลิต : การพัฒนาและประเมินองค์ความรู้การพยากรณ์ภูมิอากาศและปริมาณน้ำเพื่อการเกษตรสำหรับพืชเศรษฐกิจภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 6 :การพัฒนาและประเมินองค์ความรู้การพยากรณ์ภูมิอากาศและปริมาณน้ำเพื่อการเกษตรสำหรับพืชเศรษฐกิจภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภธิดา  อ่ำทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักวิทยากร จำนวน 3 คน คนละ 1,200 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 14,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมายานพาหนะ (กลุ่มที่ 1) คันละ 2,500 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมายานพาหนะ(กลุ่มที่ 2) คันละ 2,500 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมายานพาหนะ (กลุ่มที่ 3) คันละ 2,500 บาท จำนวน 9 ครั้ง เป็นเงิน 22,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 22,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 53 คน คนละ 150 จำนวน 5 ครั้ง เป็นเงิน 39,750 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 39,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 53 คน คนละ 70 จำนวน 5 ครั้ง เป็นเงิน 18,550 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 18,550.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสาร จำนวน 50 คน คนละ 70 บาท จำนวน 5 ครั้ง เป็นเงิน 17,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 17,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนโครงการในการจัดทำระบบการประเมิน การพยากรณ์ภูมิอากาศและปริมาณน้ำเพื่อการเกษตร จำนวน 2 คน คนละ 15,000 บาท จำนวน 9 เดือน เป็นเงิน 270,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 270,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 คน คนละ 1,200 บาท จำนวน 5 ครั้ง เป็นเงิน 18,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 18,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ จำนวน 1 ครั้ง ครั้งละ 230,000 บาท
เป็นเงิน 230,000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 230,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 640700.00
ผลผลิต : ถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีทางการเกษตรและการบูรณาการเข้ากับการเรียนการสอนทางด้านปฐพีศาสตร์ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 7 ถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีทางการเกษตรและการบูรณาการเข้ากับการเรียนการสอนทางด้านปฐพีศาสตร์ (9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภธิดา  อ่ำทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักวิทยากร (กลุ่มที่ 1) จำนวน 3 คน คนละ 1,200 บาท จำนวน 1 ครั้ง เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักวิทยากร (กลุ่มที่ 2) จำนวน 3 คน คนละ 1,200 บาท จำนวน 1 ครั้ง เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักวิทยากร (กลุ่มที่ 3) จำนวน 3 คน คนละ 1,200 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 14,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมายานพาหนะ (กลุ่มที่ 1) คันละ 2,500 บาท จำนวน 1 ครั้ง เป็นเงิน 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมายานพาหนะ(กลุ่มที่ 2) คันละ 2,500 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมายานพาหนะ(กลุ่มที่ 3) คันละ 2,500 บาท จำนวน 6 ครั้ง เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 53 คน คนบะ 150 จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 31,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 31,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 53 คน คนละ 70 จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 14,840 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,840.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสาร จำนวน 50 คน คนละ 70 จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 14,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 คน คนละ 1,200 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 14,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 119140.00
ผลผลิต : ผลการติดตาม ประเมินผล และการดำเนินงานโครงการส่วนกลาง
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 8 การติดตาม ประเมินผล และดำเนินงานโครงการส่วนกลาง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางลัดดาวัลย์  ระดม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์สุภักตร์  ปัญญา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางอัมพร  มาลา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางอารีรักษ์  วิชัยศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายปริญญา  สมบูรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภธิดา  อ่ำทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางธารารัตน์  เชื้อวิโรจน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนงานด้านนโยบาย แผนฯ (ส่วนกลาง) จำนวน 1 คน เดือนละ 15,000 บาท จำนวน 5 เดือน (ธ.ค. 2560 - ก.พ. 2561) และ(ก.ค. - ส.ค. 2561) เป็นเงิน 75,000 บาท (45,000 + 30,000)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 75,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คัน 2 วัน ๆ ละ 2,500 บาท รวมเป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยงในการเดินทางติดตามผลการดำเนินงาน จำนวน 7 คน ๆ ละ 240 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 3,360 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,360.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักจำนวน 1 คืน ๆ ละ 750 บาท จำนวน 6 คน เป็นเงิน 4,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักจำนวน 1 คืน ๆ ละ 1,200 บาท จำนวน 1 คน เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน(ค่าถ่ายเอกสาร) เป็นเงิน 2,740 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,740.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน จำนวน 1 ครั้ง ครั้งละ 108,200 บาท เป็นเงิน 108,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 108,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 160,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 160,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 360000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
งบประมาณดำเนินงานได้รับอนุมัติสำหรับนำไปดำเนินการจริงไม่เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในกิจกรรม
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ควรได้รับการอนุมัติและสามารถเบิกจ่ายงบประมาณได้ตั้งแต่เริ่มปีงบประมาณ(ต.ค.) เพื่อให้โครงการบรรลุตามเป้าหมายเดิมที่กำหนดไว้
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล