11279 : โครงการพัฒนาศักยภาพเพื่อเพิ่มองค์ความรู้ให้กับเจ้าหน้าที่สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางสาวนงคราญ มหาวัง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/10/2560 9:45:59
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2560  ถึง  30/03/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เจ้าหน้าที่สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ นักศึกษา เกษตรกร และผู้ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 2561 50,706.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. ภาพรรณ  พันธ์ทิพย์ศักดิ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดนุวัต  เพ็งอ้น
ดร. ภัทธนาวรรณ์  ฉันท์รัตนโยธิน
นาง ริมฤทัย  พุทธวงค์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการพัฒนาบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61 MJU 4.4 จำนวนผลผลิต และผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการสร้างรายได้จากการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้การกำหนดเป้าหมายของการพัฒนามหาวิทยาลัยในระยะ 15 ปีได้ มีการวิเคราะห์ถึงเป้าหมายสูงสุดของการพัฒนาในแต่ละด้านตามพันธกิจของมหาวิทยาลัย โดยเมื่อประมวลเป้าหมายในการพัฒนาแต่ละด้านแล้ว สามารถสรุปเป็นเป้าหมายหลักของการพัฒนาในภาพรวม คือ การเป็น “มหาวิทยาลัยแห่งชีวิต” ซึ่งหมายความว่า มหาวิทยาลัยมุ่งเน้นที่จะสร้างชีวิตที่ดีมากกว่าการสร้างวัตถุ โดยชีวิตที่ดีหมายถึง ชีวิตของชาวแม่โจ้ ทั้งบุคลากร นักศึกษา บัณฑิต และชุมชน ต้องเป็นชีวิตที่ยึดถือการเกษตรเป็นรากฐานของการ พัฒนา ชีวิตที่เคารพและให้ความสำคัญกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ชีวิตที่ผูกพันกับประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงาม ชีวิตในโลกแห่งความเป็นจริงที่ต้องก้าวทัน รู้ทันเทคโนโลยีและความเปลี่ยนแปลง รวมทั้งชีวิตที่ยึดถือความดีงามและธรรมาภิบาลเป็นฐานราก เหล่านี้อยู่ภายใต้แนวคิดการพัฒนาสู่การเป็น“แม่โจ้: มหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (Maejo: University of Life)” ในภาพรวมของการพัฒนามหาวิทยาลัยทุกด้าน มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัย เชิงนิเวศ ซึ่งหมายถึง การพัฒนาที่สร้างความสมดุลในการอยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติอย่างสมบูรณ์แบบและยั่งยืน คำนึงถึงความสุขที่แท้จริงของมนุษย์ การพัฒนา จิตใจ และการสร้างจิตสำนึกที่ดีงามแก่นักศึกษาและบุคลากร ทั้งนี้สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ เป็นหน่วยงานภายใต้กำกับของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ดำเนินงานให้คำแนะนำและปรึกษา นับว่าเป็นหน่วยงานที่มีบทบาทสำคัญหนึ่งที่ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ พัฒนาและส่งเสริมผู้ประกอบการหรือเกษตรกร ที่ได้รับคำแนะนำปรึกษาจากสถาบันฯ ดังนั้นสถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ได้มีการจัดอบรมเพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพเพิ่มพูนความรู้ให้กับเจ้าหน้าที่สถาบันฯ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับนั้นไปใช้เกี่ยวกับสายงานของตนเองได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อให้เจ้าหน้าที่ได้รับพัฒนาสมรรถนะอย่างต่อเนื่อง และให้เห็นถึงศักยภาพ และสามารถ ดึงศักยภาพของตนเองมาใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในหลักการที่ถูกต้องให้กับเจ้าหน้าที่ เกี่ยวกับการผลิตและคัดคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว 3.เพื่อสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ร่วมกันโดยการติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนประสบการณ์ใน การคัดคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เจ้าหน้าที่สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ได้รับพัฒนาความรู้ความเข้าใจในหลักการที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ จำนวน 50 คน
KPI 1 : ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจในหลักการผลิตและคัดคุณภาพข้าวและเมล็ดพันธุ์ข้าวเพิ่มขึ้นหลังจากได้รับการอบรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
85 0
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความพึงพอใจต่อการจัดฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องการผลิตและการคัดคุณภาพข้าวและเมล็ดพันธุ์ข้าว
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
85 0
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เจ้าหน้าที่สถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ได้รับพัฒนาความรู้ความเข้าใจในหลักการที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ จำนวน 50 คน
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการผลิตและคัดคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2560 - 30/03/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.ภาพรรณ  พันธ์ทิพย์ศักดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 2 มื้อๆละ 50 คนๆละ 150 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 4 มื้อๆละ 50 คนๆละ 35 บาท เป็นเงิน 7,000 บาท
3.ค่าที่พักวิทยากร จำนวน 1 คืนๆละ 1 ห้องๆละ 800 บาท เป็นเงิน 800 บาท
4.ค่ายานพาหนะ จำนวน 1 วันๆละ 4 คันๆละ 1,800 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
5.ค่าใบประกาศณีย์บัตร จำนวน 50 ใบๆละ 5 บาท เป็นเงิน 250 บาท
6.ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิงจำนวน 464 กิโลเมตรๆละ 4 บาท เป็นเงิน 1,856 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
32,106.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 32,106.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก จำนวน 2 คนคนละ 8 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 9,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
9,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1.ค่าวัสดุสำนักงาน จำนวน 50 เล่มๆละ 100 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 46706.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล