11298 : โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นสู่มาตรฐานผลิดภัณฑ์ชุมชน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
ดร.ณิชมน ธรรมรักษ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 21/12/2560 16:39:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/01/2561  ถึง  30/09/2561
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  5000  คน
รายละเอียด  ประชากรในชุมชนแพะป่าห้า และชุมชนอื่น ๆ ในพื้นที่อำเภอสันทรายและแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ และผู้ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิทยาศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ทุนอุดหนุนโครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 2561 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ดร. ณิชมน  ธรรมรักษ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน  ชื่นบาล
รองศาสตราจารย์ ดร. อรุณี คงดี  อัลเดรด
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิทยาศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61 MJU 4.8 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาชุมชนเป้าหมาย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.4 พัฒนาโครงการบริการวิชาการที่มีการบูรณาการศาสตร์พระราชา และเกษตรอินทรีย์ เพื่อสร้างสังคมเชิงนิเวศต้นแบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ 4. การถ่ายทอดองค์ความรู้และการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศก่อเกิดการบริการวิชาการเชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณะ
เป้าประสงค์ 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 4.3 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาชุมชนเป้าหมาย
กลยุทธ์ พัฒนาการให้บริการวิชาการเพื่อมุ่งพัฒนาและเป็นที่พึ่งของชุมชนและสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ชุมชนแพะป่าห้า ตำบลหนองจ๊อม อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ เป็นพื้นที่ในการดูแลของเทศบาลเมืองแม่โจ้ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ โดยประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีการเพาะปลูกพืชผัก และการเลี้ยงโคนม ปัจจุบันได้มีการสร้างผลิตภัณฑ์ของชุมชนจากสมุนไพรในท้องถิ่น คือ แชมพูและครีมนวดผมสมุนไพรดอกอัญชัน ซึ่งได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนแชมพู (มผช. 92/2552) และผลิตภัณฑ์ปรับสภาพเส้นผม (มผช. 93/2553) ผลิตภัณฑ์ของชุมชนพบปัญหาในส่วนของอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ที่มีระยะเวลาสั้น เมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์ทั่วไปที่มีขายในท้องตลาด เช่น ผลิตภัณฑ์แชมพูไม่คงสภาพ เมื่อมีอายุการเก็บรักษามากกว่า 8 เดือน โดยจะมีสีที่ซีดจางลงและเริ่มมีการตกตะกอนหรือเกิดการแยกชั้นของผลิตภัณฑ์ เนื่องจากผู้ผลิตจะนำสมุนไพรที่มีสมบัติบำรุงเส้นผมซึ่งเป็นภูมิปัญญาสืบทอดกันมาใส่ลงในแชมพู และมีการปรับเปลี่ยนสูตร โดยขาดความรู้เรื่องเทคนิคและขั้นตอนการผลิต เช่น คุณสมบัติของสารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในแชมพู ความเที่ยงตรงในการชั่งตวงวัด รวมถึงผลของสมุนไพรที่มีต่อลักษณะทางกายภาพของแชมพู เป็นต้น นอกจากนี้ยังรวมถึงรูปแบบการผลิตและพัฒนาสูตรของผลิตภัณฑ์ซึ่งยังคงขาดการดำเนินงานในลักษณะที่มีการนำเอาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เข้ามาใช้ในการพัฒนา เพื่อให้เกิดคุณภาพที่เทียบเท่ากับผู้ผลิตรายใหญ่ในท้องตลาด นอกจากนี้ชุมชนแพะป่าห้า และชุมชนอื่น ๆ ในพื้นที่ใกล้เคียงยังคงมีความต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์อื่น ๆ เพื่อให้ได้รับการรับรองมาตรฐาน เช่น โลชั่น น้ำยาล้างจาน สบู่เหลว ฯลฯ รวมถึงการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อการประกอบอาชีพ ดังนั้น โครงการนี้ จึงมุ่งเน้นถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีในการผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชนชนิดต่างๆ เช่น แชมพู ครีมนวดผม สบู่เหลว ฯลฯ รวมถึงการนำเอาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในการแปรรูผลผลิตทางการเกษตรให้มีคุณภาพ และมีความสามารถในการแข่งขันในท้องตลาดได้ ซึ่งอาศัยความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของคณาจารย์และบุคลากรภายในคณะวิทยาศาสตร์ เพื่อช่วยยกระดับและพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดระดับประเทศ เช่น การศึกษาชนิดและกระบวนการการสกัดสมุนไพรที่เหมาะสมและการเลือกใช้สารเคมีที่เป็นองค์ประกอบในสัดส่วนที่เหมาะสม รวมทั้งรูปแบบของบรรจุภัณฑ์ที่จะช่วยเพิ่มอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพสามารถแข่งขันกับท้องตลาดได้ การนำเอางานวิจัยในรูปแบบต่าง ๆ เข้ามาช่วยในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมถึงการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการเพิ่มขีดความสามารถทางการตลาดให้กับชุมชนอีกด้วย โดยมุ่งการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำบัญชีครัวเรือน และการค้าขาย การจัดทำเวบไซต์เพื่อเพิ่มช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของชุมชนอีกด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสร้างความเข้าใจด้านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนให้แก่ชุมชนในเขตเทศบาลแม่โจ้
เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นจากชุมชนที่ได้รับมาตรฐาน
เพื่อเพิ่มเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยและชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์/บริการของชุมชน
KPI 1 : จำนวนผลิตภัณฑ์/บริการของชุมชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ชิ้น 5
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ล้านบาท 0.05
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับการบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 20
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 8 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 5000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์/บริการของชุมชน
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างผลิตภัณฑ์/ บริการของชุมชนที่มีมาตรฐานเทียบเท่ากับท้องตลาด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2561 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.ณิชมน  ธรรมรักษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน x 100 บาท x 1 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการฝึกอบรม
- เอกสารประกอบการฝึกอบรม จำนวน 60 เล่ม x 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x 35 บาท x 2 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
- วัตถุดิบทางการเกษตร เช่น ดอกอัญชัน ฟักข้าว ฯลฯ ในวงเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัดสดุวิทยาศาสตร์
- สารเคมีสำหรับทำผลิตภัณฑ์ ในวงเงิน 8,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 23000.00
ชื่อกิจกรรม :
การถ่ายทอดองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแก่ชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2561 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.ณิชมน  ธรรมรักษ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำแผ่นพับ จำนวน 5000 แผ่น × 3 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือการขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ จำนวน 100 เล่ม x 60 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
- วัตถุดิบทางการเกษตร เช่น ดอกอัญชัน ฟักข้าว ฯลฯ ในวงเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัดสดุวิทยาศาสตร์
- ชุดทดสอบวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ ในวงเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 27000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
จำนวนผู้เข้าร่วมการถ่ายทอดองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแก่ชุมชนต่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
เพิ่มช่องทางในการประชาสัมพันธ์ให้แก่ชุมชนและผู้ที่สนใจ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย.002 ผลิตภัณฑ์ชุมชน ปี 2561
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล