11500 : โครงการสร้างฐานเรียนรู้การปลูกพืชมะเกี๋ยง พืชอนุรักษ์อื่นๆและพืชหายากใกล้สูญพันธุ์ในถ้องถิ่น ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 14/12/2560 0:15:43
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2560  ถึง  30/09/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายอื่น 2561 209,200.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พาวิน  มะโนชัย
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61 MJU 4.8 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาชุมชนเป้าหมาย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.4 พัฒนาโครงการบริการวิชาการที่มีการบูรณาการศาสตร์พระราชา และเกษตรอินทรีย์ เพื่อสร้างสังคมเชิงนิเวศต้นแบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3. เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเกษตรปลอดภัย
เป้าประสงค์ 1. เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่ให้บริการวิชาการ และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเกษตรปลอดภัย เป็นที่ยอมรับในสังคมระดับชาติ
ตัวชี้วัด 3.1.5 จำนวนโครงการสนองงานในพระราชดำริ/โครงการอพสธ /โครงการภายใต้เศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ บูรณาการโครงการพระราชดำริกับพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการศึกษาพัฒนาการปลูกพืชมะเกี๋ยงในสภาพพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมา จากพระราชดำริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) เป็นโครงการสนองพระราชดำริ โดยพระองค์ทรงจัดตั้งโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ได้ดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของโครงการในกิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช อนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช ศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมพืช วางแผนพัฒนาพันธุกรรมพืช สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชและกิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ได้ดำเนินการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พืชมะเกี๋ยงมาตั้งแต่ ปี 2537 ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (เดิมคือ สถาบันเท๕โนโลยีราชมงคล วิทยาเขตทางภาคเหนือและสถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง) ได้ร่วมสนองพระราชดำริมาตั้งแต่ต้น ทำการศึกษาประเมิน วิจัยพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มีการวางแผนพัฒนาพันธุ์ ทางโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชมะเกี๋ยงในพื้นที่ต่างๆ เช่น สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง ศูนย์บริการวิชาการและปัจจัยการผลิตห้างฉัตรลำปาง ศูนย์บริการวิชาการและปัจจัยการผลิตเชียงราย (ดอยวาวี) ศูนย์บริการวิชาการและปัจจัยการผลิตศรีษะเกษ รวมทั้งการที่ได้แจกจ่ายต้นพันธุ์มะเกี๋ยงให้แก่ราษฎรในจังหวัดลำปางไปปลูกเป็นแสนต้น เห็นควรที่จะมีการพัฒนาการใช้ประโยชน์พืชมะเกี๋ยงให้เกิดประโยชน์แท้แก่มหาชนชาวไทย ตามที่คณะกรรมการและคณะปฏิบัติการ ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) จากหน่วยงานราชการคณาจารย์สถาบันการศึกษาทางภาคเหนือ นักวิชาการด้านต่างๆ ได้พิจารณาคัดเลือกพืชอนุรักษ์ต่างๆ ขึ้นมาใหม่ เพื่อต้องการศึกษาการคุณประโยชน์ การอนุรักษ์ และกาพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ อาทิเช่น พืชมะกิ้ง พืชน้อยหน่าเครือ พืชตีนฮุ้งดอย ชาเมี่ยง และพืชอื่นๆ มากมายในอนาคต ทั้งนี้ ซึ่งพืชอนุรักษ์ ดังกล่าว ถือเป็นพืชที่มีประโยชน์หลากหลาย แต่ในปัจจุบันได้ถูกลดบทบาทลง ประกอบกับป่าเริ่มถูกทำลาย พืชชนิดนี้เริ่มไม่เป็นที่รู้จัก และ ต่อไปภายหน้า อาจสูญหายไปจากป่าได้มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงต้องการสร้างแปลงสาธิตการปลูกพืชอนุรักษ์อื่นๆ เช่น พืชมะกิ้ง พืชน้อยหน่าเครือ พืชตีนฮุ้งดอย และพืชอนุรักษ์อื่นๆ ของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ เพื่อบริการวิชาการให้แก่ นักวิจัย คณาจารย์ นักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไปที่สนใจ นำมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง ให้มีการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน การศึกษาวิจัยคุณประโยชน์ ด้านต่างๆ จะทำให้พืชพันธุ์มะกิ้ง คงอยู่ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อเป็นแปลงอนุรักษ์และศึกษาการพัฒนาพืชมะเกี๋ยง พืชอนุรักษ์อื่นๆและพืชหายากใกล้สูญพันธุ์ในถ้องถิ่นในสภาพพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
2. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ในด้านการเรียนการสอน ภายใต้โครงการสนองงานในพระราชดำริ ให้แก่นักศึกษาและประชานทั่วไปที่สนใจ
3. เพื่อเป็นแปลงสาธิตในด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจัย บริการวิชาการต่อไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการสร้างฐานเรียนรู้การปลูกพืชมะเกี๋ยง พืชอนุรักษ์อื่นๆและพืชหายากใกล้สูญพันธุ์ในถ้องถิ่น ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
KPI 1 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับการบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 100
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 บาท 209200
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการสร้างฐานเรียนรู้การปลูกพืชมะเกี๋ยง พืชอนุรักษ์อื่นๆและพืชหายากใกล้สูญพันธุ์ในถ้องถิ่น ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
ชื่อกิจกรรม :
สร้างฐานเรียนรู้การปลูกพืชมะเกี๋ยง พืชอนุรักษ์อื่นๆและพืชหายากใกล้สูญพันธุ์ในถ้องถิ่น ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ศุกรี  อยู่สุข (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาดูแลแปลงมะเกี๋ยง จำนวน 2 คน ๆ ละ 8 เดือน ๆ ละ 7,000 บาท เป็นเงิน 112,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาตัดหญ้า จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 7,000 บาท เป็นเงิน 14,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 126,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น เป็นเงิน 10,000 บาท
2. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 53,200 บาท
3. ค่าวัสดุก่อสร้าง เป็นเงิน 20,000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 83,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 209200.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล