11576 : พัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพบัญชี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ รุ่นที่ 15
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
นางนพนิตย์ วงศ์สุ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 8/3/2561 14:30:32
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
13/11/2560  ถึง  28/02/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  261  คน
รายละเอียด  1. บุคคลทั่วไป จำนวน 87 คน 2. ศิษย์เก่า และผู้เคยร่วมโครงการ จำนวน 76 คน 3. บุคลากรสายวิชาการ จำนวน 10 คน 4. นักศึกษา จำนวน 88 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรับฝากโครงการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพบัญชี 2561 15,000.00
งบประมาณเงินรายได้ คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ค่าลงทะเบียน
1. บุคคลทั่วไป จำนวน 87 คนๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 78,300 บาท
2. ศิษย์เก่า และผู้เคยร่วมโครงการ จำนวน 76 คนๆ ละ 900 บาท เป็นเงิน 76,000 บาท
2561 154,300.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ พัทธ์ยศ  เดชศิริ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.1 ร้อยละของงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA61-3 การบริการวิชาการเพื่อพัฒนาชุมชน สังคม
เป้าประสงค์ BA61-G8 มีหลักสูตรจัดโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน สังคม เป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด BA61- KPI-16 จำนวนหลักสูตรที่จัดโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน สังคม และก่อให้เกิดรายได้จากการบริการวิชาการ (P.1)
กลยุทธ์ BA61-S8 ส่งเสริมให้หลักสูตรจัดโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน สังคมเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
เป้าประสงค์ BA61-G9 มีหลักสูตรระยะสั้นเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน และสังคม
ตัวชี้วัด BA61- KPI-17 จำนวนหลักสูตรระยะสั้นเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน และสังคม (P.5)
กลยุทธ์ BA61-S9 สร้างหลักสูตรระยะสั้นเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน และสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ เป็นข้อบังคับให้ผู้ประกอบวิชาชีพนั้นๆ ต้องเข้ารับการพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการรักษาสมรรถภาพ การเพิ่มความรู้ความสามารถทางวิชาชีพของตนเองให้คงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งวิชาชีพบัญชีถือเป็นวิชาชีพหนึ่งที่เข้าลักษณะของข้อบังคับดังกล่าวด้วย โดยมีหน่วยงานกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีหลายแห่ง ได้กำหนดจำนวนชั่วโมงขั้นต่ำสำหรับการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพในแต่ละรอบปี เช่น สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ กรมสรรพากร สมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย และกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลา ดังนี้ 1.ผู้ทำบัญชีต้องเข้ารับการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ จำนวน 12 ชั่วโมงต่อปี และต้องเป็นด้านการบัญชี อย่างน้อย 6 ชั่วโมง และ 2.ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตต้องเข้ารับการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ ในแต่ละปีต้องไม่น้อยกว่า 40 ชั่วโมง ซึ่งคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานรัฐที่ได้รับอนุญาตจากสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ และกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ให้เป็นหน่วยงานจัดฝึกอบรมให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี และผู้ที่สนใจทั่วไป รวมทั้งการให้บริการด้านวิชาการถือเป็นหนึ่งในพันธกิจของสถาบันการศึกษา ดังนั้นคณะบริหารธุรกิจ โดยคณาจารย์และนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี จึงได้จัดโครงการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพบัญชี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อย่างต่อเนื่องเรื่อยมา และในภาคเรียนที่ 2/2560 คณะผู้จัดงานจึงได้เรียนเชิญผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านภาษีอากรมาเป็นวิทยากรอบรมเพื่อให้ความรู้ในหัวข้อ “Update กฎหมายภาษีอากรเพื่อการวางแผนภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีมูลค่าเพิ่ม” พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและตอบข้อสงสัย ให้แก่ นักบัญชี ผู้ตรวจสอบบัญชี นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป ได้ทราบถึงประเด็นกฎหมายภาษีอากรที่มีการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันและกฎหมายใหม่ที่ได้มีการประกาศใช้ และได้ทราบถึงแนวทางการวางแผนภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีมูลค่าเพิ่มที่ถูกต้องตามกฎหมายภาษีอากร

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับกฎหมายภาษีอากรที่มีการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันและกฎหมายใหม่ที่ได้มีการประกาศใช้
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ทราบทิศทางการเปลี่ยนแปลงของระบบจัดเก็บภาษีอากรของประเทศไทย
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ทราบถึงแนวทางการวางแผนภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีมูลค่าเพิ่มที่ถูกต้อง
เพื่อเป็นกิจกรรมการพัฒนาความรู้ทางวิชาชีพทางการบัญชีอย่างต่อเนื่องให้แก่ศิษย์เก่า
เพื่อให้นักศึกษาผู้ร่วมจัดโครงการเกิดผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีครบทั้ง 5 ด้าน
เพื่อให้นักศึกษาผู้ร่วมจัดโครงการเกิดทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ในด้านทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศและเทคโนโลยี และทักษะด้านชีวิตและการทำงาน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่อง “Update กฎหมายภาษีอากรเพื่อการวางแผนภาษี เงินได้นิติบุคคล และภาษีมูลค่าเพิ่ม”
KPI 1 : นักศึกษาผู้จัดโครงการมีทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ในด้านทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศและเทคโนโลยี และทักษะด้านชีวิตและการทำงาน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ระดับ 3.51
KPI 2 : ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 3 : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง“Update กฎหมายภาษีอากรเพื่อการวางแผนภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีมูลค่าเพิ่ม” มากขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ระดับ 3.51
KPI 4 : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 261
KPI 5 : จำนวนศิษย์เก่าที่เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 35
KPI 6 : นักศึกษาผู้จัดโครงการมีผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้านจากการมีส่วนร่วมในการจัดโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ระดับ 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่อง “Update กฎหมายภาษีอากรเพื่อการวางแผนภาษี เงินได้นิติบุคคล และภาษีมูลค่าเพิ่ม”
ชื่อกิจกรรม :
อบรมให้ความรู้เรื่อง “Update กฎหมายภาษีอากรเพื่อการวางแผนภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีมูลค่าเพิ่ม”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/02/2561 - 03/02/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พัทธ์ยศ  เดชศิริ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวันผู้ร่วมสัมมนา จำนวน 175 คนๆ ละ 330 บาท เป็นเงิน 57,750 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันนักศึกษา จำนวน 88 คนๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 10,560 บาท
3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 175 คนๆ ละ 50 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 17,500 บาท
4. ค่าใช้สอยประชาสัมพันธ์
4.1 ค่าไวนิล จำนวน 1 ชิ้นๆ ละ 1,600 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
4.2 ค่าโปสเตอร์ จำนวน 30 แผ่นๆ ละ 15 บาท เป็นเงิน 600 บาท
4.3 ค่าแผ่นพับ จำนวน 3,000 แผ่นๆ ละ 2 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 94,010.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 2,500 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 29,180 บาท
2. ค่าวัสดุสำนักงาน
2.1 ค่ากระดาษถ่ายเอกสาร A4 80 แกรม เป็นเงิน 1,160 บาท
2.2 ค่ากระดาษถ่ายเอกสารสี เป็นเงิน 1,500 บาท
2.3 ค่ากระดาษการ์ดแข็งคละสี เป็นเงิน 1,500 บาท
2.4 ค่ากระดาษสติกเกอร์ เป็นเงิน 2,500 บาท
2.5 ค่าซองพลาสติกใสแบบสอดข้าง เป็นเงิน 1,000 บาท
2.6 ค่าซองจดหมายสีน้ำตาลใหญ่ เป็นเงิน 820 บาท
2.7 ปากกา เป็นเงิน 700 บาท
2.8 ค่าแฟ้มสันห่วง (ขนาดใหญ่) เป็นเงิน 1,000 บาท
2.9 ค่าที่เจาะกระดาษ เป็นเงิน 200 บาท
2.10 คลิปบอร์ดพลาสติก เป็นเงิน 200 บาท
2.11 ตัวหนีบสีดำ เป็นเงิน 500 บาท
2.12 ลวดเสียบ เป็นเงิน 500 บาท
2.13 ซองพลาสติกใส่ป้ายชื่อแบบมีสายคล้องคอ เป็นเงิน 2,000 บาท
2.14 ซองพลาสติกไส้แฟ้มเอกสาร เป็นเงิน 300 บาท
3. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
3.1 แผ่น CD เป็นเงิน 500 บาท
3.2 แผ่น DVD เป็นเงิน 500 บาท
3.3 ซองใส่แผ่น CD/DVD เป็นเงิน 100 บาท
3.4 Flash drive เป็นเงิน 700 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 44,860.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
1.ค่าสาธารณูปโภค เป็นเงิน 15,430 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,430.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 169300.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล