11711 : โครงการส่งเสริมการปลูกดอกเก๊กฮวยอินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
นางรัตนา ศรีวิชัย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 24/1/2561 13:52:46
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/10/2560  ถึง  30/09/2561
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  12  คน
รายละเอียด  เกษตรกร
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่ใช้งบประมาณ 2561 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย อดิศักดิ์  การพึ่งตน
นาง วิไลวรรณ  สถาพรศรีสวัสดิ์
นาง รัตนา  ศรีวิชัย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.1 ร้อยละของงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส61-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ วส61-2.2 เป็นที่พึ่งของประชาชนและมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน
ตัวชี้วัด วส61-9. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาชุมชนเป้าหมาย
กลยุทธ์ วส61-2.2.1 ถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และนำไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันพื้นที่โดยรอบโครงการพัฒนาบ้านโปงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เกษตรกรส่วนใหญ่มีอาชีพผลิตดอกเบญจมาศ โดยการผลิตดอกเบญจมาศนั้นมีการพึ่งพาสารเคมีเป็นหลัก อีกทั้งผลิตภัณฑ์จากดอกเก๊กฮวยที่วางจำหน่ายอยู่ในปัจจุบันก็ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่ากระบวนการผลิตนั้นเป็นในรูปแบบเกษตรอินทรีย์หรือไม่ ดังนั้นการส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตดอกเก๊กฮวยในรูปของเกษตรอินทรีย์ นอกจากส่งผลดีต่อสภาพแวดล้อมแล้ว สุขภาพของเกษตรกรผู้ผลิตเอง และยังรวมถึงผู้บริโภคที่จะได้รับประทานอาหารที่มีความปลอดภัยจากสารเคมีอีกด้วย ซึ่งเก๊กฮวยเป็นพืชที่เหมาะสมกับภูมิประเทศทางเขตภาคเหนือและเป็นพืชที่มีศักยภาพในการเป็นพืชอุตสาหกรรม เพื่อดำเนินการโครงการนำร่องทดแทนการผลิตดอกเบญจมาศ ซึ่งเป็นพืชตระกูลเดียวกันกับเก๊กฮวย แต่มีการใช้สารเคมีในปริมาณที่สูงมาก อีกทั้งยังมีราคาขึ้นลงไม่แน่นอน โดยในปีประมาณ 2561 นั้น เป็นการขยายต้นพันธุ์ให้มีความพอเพียงต่อความต้องการของกลุ่มเป้าหมายนั่นคือ เกษตรกรผู้ผลิตเบญจมาศในพื้นที่โครงการพัฒนาบ้านโปงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และยังสามารถใช้เป็นสถานที่สนับสนุน ด้านการเรียน การสอน การวิจัย และการบริหารจัดการ ของมหาวิทยาลัยอย่างเต็มรูปแบบ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อเป็นการแนะนำและส่งเสริมอาชีพที่เป็นทางเลือกใหม่ให้เกษตรกรอย่างเป็นรูปธรรม
2. เพื่อการผลิตต้นพันธุ์เก๊กฮวยอินทรีย์ ส่งเสริมให้เกษตรกรนำไปปลูก
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1. ระบบการผลิตต้นพันธุ์เก๊กฮวยอินทรีย์ที่ถูกต้อง สามารถผลิตต้นพันธุ์เก๊กฮวยให้กับเกษตรกรได้ 2. ต้นพันธุ์เก๊กฮวยคุณภาพดี สำหรับเกษตรกรอินทรีย์นำไปปลูกเป็นพืช ในระบบอุตสาหกรรม
KPI 1 : ปลูกแม่พันธุ์สำหรับผลิตท่อนพันธุ์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ต้น 1000
KPI 2 : แปรรูปผลผลิตเป็นเก๊กฮวยอบแห้ง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิโลกรัม 100
KPI 3 : ผลิตท่อนพันธุ์เก๊กฮวยอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ต้น 6000
KPI 4 : พื้นที่ส่งเสริมการปลูกเก๊กฮวยอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ไร่ 3
KPI 5 : ดูแลรักษาผลผลิตอบแห้งและควบคุมการเบิกจ่ายผลผลิต
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ครั้ง 12
KPI 6 : ร้อยละความพึงพอใจของเกษตรกรผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 7 : ขยายพันธุ์เก๊กฮวยคุณภาพดี
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ต้น 500
KPI 8 : ผลผลิตดอกสดที่ได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิโลกรัม 1000
KPI 9 : เกษตรกรเข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ครอบครัว 12
KPI 10 : การประชาสัมพันธุ์และจัดจำหน่าย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิโลกรัม 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1. ระบบการผลิตต้นพันธุ์เก๊กฮวยอินทรีย์ที่ถูกต้อง สามารถผลิตต้นพันธุ์เก๊กฮวยให้กับเกษตรกรได้ 2. ต้นพันธุ์เก๊กฮวยคุณภาพดี สำหรับเกษตรกรอินทรีย์นำไปปลูกเป็นพืช ในระบบอุตสาหกรรม
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1. การผลิตท่อนพันธุ์เก๊กฮวยและการส่งเสริม
- ขยายพันธุ์เก๊กฮวย คุณภาพดี ปราศจากโรค เพื่อใช้เป็นแม่พันธุ์
- ปลูกแม่พันธุ์สำหรับผลิตท่อนพันธุ์
- ผลิตท่อนพันธุ์เก๊กฮวยอินทรีย์
- พื้นที่ส่งเสริมการปลูกเ๊กฮวยอินทรีย์
- จำนวนเกษตกรเข้าร่วมโครงการฯ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายอดิศักดิ์  การพึ่งตน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2. การเก็บเกี่ยวและการแปรรูป
- ผลผลิตดอกสดที่ได้
- แปรรูปผลผลิตเป็นเก๊กฮวยอบแห้ง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางวิไลวรรณ  สถาพรศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 การดูแลรักษาผลผลิตและการจัดจำหน่าย
- การดูแลรักษษผลผลิตอบแห้งและควบคุมการเบิกจ่ายผลผลิต
- การประชาสัมพันธ์ และจัดจำหน่ายผลผลิต

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางรัตนา  ศรีวิชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1. ไม่สามารถขยายพันธุ์ ได้ตามจำนวนที่กำหนดไว้
2. สภาพอากาศที่แปรปรวน การระบาดของโรคและแมลง
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1. วางแผนการผลิต อย่างเป็นระบบ
2. วางแผนการผลิตที่มีความยืดหยุ่นสามารถปรับเปลี่ยนแผน ให้เกิดความเหมาะสมต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล