11713 : โครงการรวบรวม อนุรักษ์และปลูกคัดเลือกไม้ผลพันธุ์ดีสุ่ชุมชน (ลำไย มะม่วง น้อยหน่า)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
นางจิรนันท์ เสนานาญ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 5/1/2561 14:37:15
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
03/01/2561  ถึง  28/09/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักศึกษาและผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ กองบริหารงานวิจัย หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2561 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาง จิรนันท์  เสนานาญ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61 MJU 4.8 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาชุมชนเป้าหมาย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.4 พัฒนาโครงการบริการวิชาการที่มีการบูรณาการศาสตร์พระราชา และเกษตรอินทรีย์ เพื่อสร้างสังคมเชิงนิเวศต้นแบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส61-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ วส61-2.5 เป็นแหล่งข้อมูลและการพัฒนาพันธุกรรมพืชและสัตว์
ตัวชี้วัด วส61-12. จำนวนพันธุ์พืชและสัตว์จากการเก็บข้อมูลและการพัฒนาพันธุกรรม
กลยุทธ์ วส61-2.5.1 พัฒนาสำนักวิจัยฯ ให้เป็นแหล่งข้อมูลและการพัฒนาพันธุกรรมพืชและสัตว์
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ลำไยจัดเป็นไม้ผลที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจอันดับหนึ่งของภาคเหนือที่มีแหล่งผลิตหลักอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน เชียงราย และพะเยา โดยมีพื้นที่ปลูกทั้งประเทศประมาณ 1 ล้านไร่แต่ จากการสำรวจของพาวินและคณะ(2549) พบว่า เกษตกรส่วนใหญ่ ในพื้นที่ปลูกลำไยในจังหวัดลำพูนและเชียงใหม่ นิยมปลูกลำไยพันธุ์อีดอคิดเป็นร้อยละ 99.22 ทำให้ลำไยพันธุ์ที่เป็นพันธุ์รับประทานผลสด เช่น พันธุ์สีชมพู พันธุ์แห้ว พันธุ์พวงทอง พันธุ์เบี้ยวเขียวและพันธุ์อื่นๆ ค่อยๆหายไป และเพื่อเป็นการอนุรักษ์พันธุ์ที่ไม่ใช่พันธุ์ที่เป็นการค้าสูญหายไป จึงได้มีการนำลำไยพันธุ์ต่างๆ กลับมาปลูกรวบรวมและศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ ทั้ง ใบ ดอกและผล เพื่อเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ให้กับนักเรียน นักศึกษาและผู้สนใจทั่วไป จากการสำรวจพันธุ์น้อยหน่าน้อยหน่าในเขตภาคเหนือตอนบนเบื้องต้น พบว่ามีพันธุ์น้อยหน่าที่เป็นทั้งพันธุ์ดั้งเดิมและพันธุ์ลูกผสมกระจายอยู่ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ได้แก่ จังหวัด เชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน แม่ฮ่องสอน และ ตาก โดยเป็นการปลูกแบบสวนขนาดเล็ก และเริ่มมีการโค่นต้นน้อยหน่าเพื่อปลูกพืชอื่น ทำให้ต้นน้อยหน่าที่มีลักษณะทางพันธุกรรมดั้งเดิมเริ่มสูญหายไป ดังนั้นจึงสมควรมีการนำสายพันธุ์ดีจากแหล่งที่มีพันธุกรรมที่ดีมาปลูกคัดเลือกเพื่อขยายสู่ชุมชนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อรวบรวม และปลูกลำไย ลิ้นจี่ มะม่วง และน้อยหน่าพันธุ์ต่างๆในพื้นที่ 15 ไร่ สำนักวิจัยฯ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เพื่อรวบรวม และปลูกลำไย ลิ้นจี่ มะม่วง และน้อยหน่าพันธุ์ต่างๆ
KPI 1 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 50
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอในผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนต้นลำไย ลิ้นจี่ มะม่วง และน้อยหน่าที่ขยายพันธุ์ได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ต้น 400
KPI 4 : ร้อยละโครงการที่บรรลุวัตถุประสงค์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เพื่อรวบรวม และปลูกลำไย ลิ้นจี่ มะม่วง และน้อยหน่าพันธุ์ต่างๆ
ชื่อกิจกรรม :
รวบรวม และปลูกลำไย ลิ้นจี่ มะม่วง และน้อยหน่าพันธุ์ต่างๆ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/01/2561 - 28/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล