11720 : อบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบผลิตไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์สู่ชุมชนต้นแบบเลี้ยงปลาอัจฉริยะสีเขียว
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางเพ็ญศิริ หน่อแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 16/11/2560 15:21:16
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2560  ถึง  30/09/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คน ประกอบด้วย ประชาชน นักศึกษา คณาจารย์ และผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยพลังงานทดแทน หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่ใช้งบประมาณ 2560 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุลักษณา  มงคล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยิ่งรักษ์  อรรถเวชกุล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61 MJU 4.3 จำนวนโครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด อย่างน้อยร้อยละ 80
กลยุทธ์ 61 MJU 4.1.10 สร้างระบบและกลไกในการติดตามและเร่งรัดการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนเข้มแข็งตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง
เป้าประสงค์ 4.1 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 4.1.1 ระดั 4.1.1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาชุมชนเป้าหมาย
กลยุทธ์ 4.1.1.1 พัฒนาการให้บริการวิชาการเพื่อมุ่งพัฒนาและเป็นที่พึ่งของชุมชนและสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานที่มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและทำวิจัยด้านเทคโนโลยีพลังงานทดแทน อันประกอบด้วย เทคโนโลยีชีวมวล เทคโนโลยีเชื้อเพลงชีวภาพ เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ เทคโนโลยีพลังงานลม เทคโนโลยีพลังงานน้ำ เทคโนโลยีด้านความร้อนจากแหล่งความร้อนต่างๆ และได้มีการนำผลงานวิจัยด้านพลังงานทดแทนใช้ในการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษาในหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต พลังงานทดแทน และหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ตลอดจนนำไปสู่การถ่ายทอดความรู้สู่ผู้สนใจทั่วไปเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจของการใช้พลังงานทดแทนที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันมาอย่างต่อเนื่องอันนำไปสู่การพัฒนาสู่ชุมชนอย่างยั่งยืน ในการนี้ ด้วยวิทยาลัยพลังงานทดแทนได้รับการสนับสนุนจากคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้รับเงินสนับสนุนในการดำเนินโครงการชุมชนต้นแบบเลี้ยงปลาอัจฉริยะสีเขียวเพื่อลดปริมาณการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล กรณีศึกษาชุมชนบ้านทุ่งยาว อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ เพื่อลดปัญหาการใช้พลังงานแบบดั้งเดิมโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์มาผลิตไฟฟ้า ผลจากการดำเนินโครงการทำให้ได้องค์ความรู้มากกมายและสามารถนำมาเผยแพร่ขยายผลได้ ดังนั้นวิทยาลัยพลังงานทดแทนจึงได้จัดทำโครงการบริการวิชาการอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบผลิตไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์สู่ชุมชนต้นแบบเลี้ยงปลาอัจฉริยะสีเขียว โดยมุ่งหวังให้เกษตรกรและผู้สนใจทั่วไปสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในอนาคตได้ นอกจากนั้นเป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้แก่นักศึกษาในระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท ที่ได้นำความรู้จากการเรียนการสอนมาบูรณาการสู่ชุมชนจาการเข้าร่วมกิจกรรม

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อบริการวิชาการด้านเทคโนโลยีพลังงานทดแทนแก่กลุ่มเป้าหมาย
เพื่อสร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน กับบุคลากรและนักศึกษาของวิทยาลัยพลังงานทดแทน
เพื่อนำความรู้จากงานวิจัยบูรณาการกับการเรียนการสอน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลงานการให้บริการวิชาการ
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 40
KPI 2 : จำนวนเทคโนโลยีพลังงานทดแทนที่ต้องการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 เทคโนโลยี 1
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้ารับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประกอบอาชีพ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 50
KPI 4 : ความพึงพอใจของผู้เข้ารับบริการในการจัดกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้ารับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 50
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลงานการให้บริการวิชาการ
ชื่อกิจกรรม :
1. การบรรยายให้ความรู้ระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์
2. การบรรยายให้ความรู้ระบบควบคุมอัจฉริยะในการทำงานของระบบเติมออกซิเจน
3. เทคโนโลยีพลังงานทดแทนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับชุมชน
ผู้รับผิดชอบโครงการ(ร่วม)
ผศ.ดร.สราวุธ พลวงษ์ศรี ดร.สุลักษณา มงคล ดร.ชวโรจน์ ใจสิน ผศ.ดร.อัครินทร์ อินทนิเวศน์ ผศ.ดร.ธงชัย มณีชูเกตุ ดร.รจพรรณ นิรัญศิลป์ ดร.ปริญ คงกระพันธ์ ดร.จุฑาภรณ์ ชนะถาวร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล