11858 : การผลิตปุ๋ยอินทรีย์เพื่อใช้ในการผลิตพืชอินทรีย์ในสำนักฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นายณัฏฐชัย อัฐวงศ์ชยากร (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 29/11/2560 14:52:13
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
29/11/2560  ถึง  30/09/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  5  คน
รายละเอียด  เจ้าหน้าที่ฝ่ายผลิตแปลงพืชผัก จำนวน 10 ไร่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน ฟาร์มมหาวิทยาลัย หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 1.ค่าก้อนเชื้อเห็ดเก่า 20 ลำๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
2.มูลวัว 1,500 กระสอบๆละ 20 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
2561 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ณัฏฐชัย  อัฐวงศ์ชยากร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
ฟาร์มมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61 MJU 4.4 จำนวนผลผลิต และผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการสร้างรายได้จากการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

เกษตรอินทรีย์เป็นระบบการผลิตที่คำนึงถึงสภาพแวดล้อมรักษาสมดุลของธรรมชาติและความหลากหลายของทางชีวภาพโดยมีระบบการจัดการนิเวศวิทยาที่คล้ายคลึงกับธรรมชาติและหลีกเลี่ยงการใช้สารสังเคราะห์ไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยเคมี สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและฮอร์โมนต่าง ๆ ตลอดจนไม่ใช้พืชหรือสัตว์ที่เกิดจากการตัดต่อทางพันธุกรรมที่อาจเกิดมลพิษในสภาพแวดล้อมเน้นการใช้อินทรีย์วัตถุ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด และ ปุ๋ยชีวภาพในการปรับปรุงบำรุงให้มีความอุดมสมบูรณ์ เพื่อให้ต้นพืชมีความแข็งแรงสามารถต้านทานโรคและแมลงด้วยตนเอง รวมถึงการนำเอาภูมิปัญญาชาวบ้านมาใช้ประโยชน์ด้วย ผลผลิตที่ได้จะปลอดภัยจากสารพิษตกค้างทำให้ปลอดภัยทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคและไม่ทำให้สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมอีกด้วย (กรมวิชาการเกษตร) ในระยะที่ผ่านมาการทำการเกษตร ตลอดจนการใช้ทรัพยากรดินโดยไม่คำนึงถึงผลเสียของปุ๋ยเคมีสังเคราะห์ก่อให้เกิดความไม่สมดุลในแร่ธาตุ และกายภาพของดินทำให้สิ่งมีชีวิตที่มีประโยชน์ในดินนั้นสูญหาย และไร้สมรรถภาพความไม่สมดุลนี้เป็นอันตรายอย่างยิ่ง กระบวนการนี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างต่อเนื่อง ผืนดินที่ถูกผลาญไปนั้นได้สูญเสียความสามารถในการดูดซับแร่ธาตุ ทำให้ผลิตผลมี แร่ธาตุ วิตามิน และพลังชีวิต ต่ำ เป็นผลทำให้เกิดการขาดแคลนธาตุอาหารรองของพืช พืชจะอ่อนแอขาดภูมิต้านทานโรค และทำให้การคุกคามของแมลงเชื้อโรคเกิดขึ้นได้ง่าย จึงจะนำไปสู่ใช้สารเคมีสังเคราะห์กำจัดวัชพืช ข้อบกพร่องเช่นนี้ก่อให้เกิดวิกฤติในห่วงโซอาหารและระบบการเกษตรของเรา ซึงก่อให้เกิดปัญหาทางสุขภาพและสิ่งแวดล้อมอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน (www.doae.go.th/library/html/detail/nsfng/indexh.htm) นอกจากนั้นจากกระแสปัจจุบัน การสนใจด้านสุขภาพเริ่มมีความสำคัญเพิ่มขึ้น ผู้บริโภคได้ให้ความสำคัญกับการทำการเกษตรแบบไม่ใช้สารเคมี หรือผลผลิตจากเกษตรอินทรีย์ ซึ่งเป็นแนวทางการผลิตที่ปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง ลำไยก็เป็นพืชชนิดหนึ่งที่สามารถผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์ได้ โดยผลผลิตจากการทำเกษตรอินทรีย์สามารถเพิ่มมูลค่าได้มากกว่า 1 เท่าตัวของราคาตลาด สำนักฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีพื้นที่สำหรับการผลิตพืชแบบเกษตรอินทรีย์ จำนวนทั้งหมด 77 ไร่ โดยแบ่งเป็น พื้นที่ปลูกลำไยอินทรีย์ จำนวน 20 ไร่ มะม่วงน้ำดอกไม้สีทองอินทรีย์ จำนวน 20 ไร่ ยางพาราอินทรีย์ จำนวน 30 ไร่ และพืชผักอินทรีย์ จำนวน 10 ไร่ ปุ๋ย ถือเป็นหนึ่งในปัจจัยการผลิตที่มีความสำคัญทางการเกษตร ในการผลิตพืชแบบเกษตรอินทรีย์ปุ๋ยอินทรีย์จึงมีความจำเป็นและสำคัญต่อการเจริญเติมโตของพืช จากการศึกษาเบื้องต้นพบว่า พื้นที่การผลิตพืชแบบเกษตรอินทรีย์ของสำนักฟาร์มนี้มีความต้องการปุ๋ยอินทรีย์ ในจำนวน 265 ตัน/ปี ดังนั้นการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ของสำนักฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้นั้นจึงมีความจำเป็นอย่างมากต่อการผลิตพืชแบบเกษตรอินทรีย์ของสำนักฟาร์มมหาวิทยาลัย ซึ่งในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ได้ใช้วัสดุเหลือทิ้งจากภาคเกษตรกรรมมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดซึ่งสำนักฟาร์มมหาวิทยาลัยได้มีวัตถุดิบเหลือใช้จากการเกษตรเป็นจำนวนมาก สามารถนำมาเป็นส่วนผสมในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ได้ เป็นการลดต้นทุนในการผลิต และเพื่อการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ซึ่งถือเป็นปัจจัยการผลิตพืชแบบเกษตรอินทรีย์ที่สำคัญ ก่อให้เกิดความยั่งยืนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.ผลิตปุ๋ยอินทรีย์เพื่อรองรับการพัฒนาพื้นที่ การผลิตพืชอินทรีย์ของสำนักฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้
2.เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพดินให้ดีขึ้น
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลงานการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้คุณภาพเพื่อใช้ในสำนักฟาร์มมหาวิทยาลัยจำนวน 10 ตัน
KPI 1 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้ใช้พื้นที่ในการผลิตพืชอินทรีย์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 3 : จำนวนปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ตัน 10
KPI 4 : ร้อยละชนิดพืชที่นำไปใช้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 70
KPI 5 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของการดำเนินโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 7 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ล้านบาท 0.05
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลงานการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้คุณภาพเพื่อใช้ในสำนักฟาร์มมหาวิทยาลัยจำนวน 10 ตัน
ชื่อกิจกรรม :
ผลงานการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้คุณภาพเพื่อใช้ในสำนักฟาร์มมหาวิทยาลัย จำนวน 10 ตัน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/11/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายณัฏฐชัย  อัฐวงศ์ชยากร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
1.ค่าก้อนเชื้อเห็ดเก่า 20 ลำๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
2.มูลวัว 1,500 กระสอบๆละ 20 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
30,000.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย002-61
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล