11859 : โครงการห้องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการแปรรูปผลผลิต ทางการเกษตรเพื่อการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางเพ็ญศิริ หน่อแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 30/11/2560 8:45:52
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/10/2560  ถึง  28/09/2561
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  80  คน
รายละเอียด  จำนวน 80 คน ประกอบด้วย กลุ่มเกษตรในพื้นที่ จ.เชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน วิทยาลัยพลังงานทดแทน หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ 2561 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธเนศ  ไชยชนะ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐวุฒิ  ดุษฎี
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61 MJU 4.6 รายได้ที่เพิ่มขึ้นของผู้เข้าร่วมโครงการบริการวิชาการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรายได้ให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.3 พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้นให้ทันสมัย เพื่อให้เอื้อสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย เช่นผู้สูงอายุ หรือคนรุ่นใหม่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนเข้มแข็งตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง
เป้าประสงค์ 4.1 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 4.1.1 ระดั 4.1.1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาชุมชนเป้าหมาย
กลยุทธ์ 4.1.1.1 พัฒนาการให้บริการวิชาการเพื่อมุ่งพัฒนาและเป็นที่พึ่งของชุมชนและสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม และเกษตรกรมีการผลิตผลิตทางการเกษตรที่หลากหลาย ทั้งนี้เมือเกษตรกรผลิตผลผลิตต่างออกมาก็จะทำการขายโดยทันที่เป็นผลผลิตสด ซึ่งจะได้ราคาตามที่พ่อค่าที่มาชื้อกำหนด และในบ่างช่วงก็มีผลผลิตออกมาสู่ท้องตลาดจำนวนมาก ส่งผลให้ราคาที่เกษตรกรสามารถขายได้มีค่าต่ำ (ราคาถูก) เช่น ในช่วงที่มีปริมาณของพริกออกมาสู่ท้องตลาดมากก็จะทำให้ราคาพริกสดถูกลง หรือการผลิตกล้วยทอด หรือกล้วยอบซึ่ง หากกล้วยสุขเกินไปก็จะไม่สามารถนำมาแปรรูปในวิธีการนี้ได้ ต้องใช้วิธีการอื่นในการแปรรูป เช่น การตากแห้ง หรือผลิตเป็นกล้วยอบน้ำผึ่ง เป็นต้น ประเทศไทยเป็นประเทศในเขตร้อน มีศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์ที่ดี โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้ศึกษาศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์และจัดทำแผนที่ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์จากข้อมูลดาวเทียมของประเทศไทย โดยวิเคราะห์ข้อมูลดาวเทียมประกอบกับข้อมูลที่ได้จากการตรวจวัดภาคพื้นดิน พบว่าการกระจายของความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ตามบริเวณต่างๆ ในแต่ละเดือนของประเทศได้รับอิทธิพลสำคัญจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศได้รับรังสีดวงอาทิตย์สูงสุดระหว่างเดือนเมษาและพฤษภาคม โดยมีค่าอยู่ในช่วง 20-23 MJ/m2-day และพบว่าพื้นที่ 11.0% ของประเทศไทยได้รับรังสีดวงอาทิตย์เฉลี่ยทั้งปีที่ 19 ถึง 20 MJ/m2-day นอกจากนี้ยังพบว่า 35.6% ของพื้นที่ทั้งหมดได้รับรังสีดวงอาทิตย์เฉลี่ยทั้งปีในช่วง 18-19 MJ/m2-day จากการคำนวณรังสีรวมของดวงอาทิตย์รายวันเฉลี่ยต่อปีของพื้นที่ทั่วประเทศพบว่ามีค่าเท่ากับ 18.0 MJ/m2-day จากผลที่ได้นี้แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมีศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์ค่อนข้างสูงและได้จัดทำเป็นแผนที่ เรียกแผนที่ดังกล่าวว่า “แผนที่ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์ของประเทศไทย” ในแผนที่จะแสดงความเข้มรังสีรวมของดวงอาทิตย์ที่บริเวณต่างๆ ของประเทศไทยได้ดังแสดงในรูปของค่ารายวันเฉลี่ยต่อปีในหน่วย MJ/m2-day ดังแสดงในรูปที่ 2 กล้วยไข่ www.เกร็ดความรู้.net/กล้วยไข่/ [30/10/59] พริกชี้ฟ้า frynn.com/พริกชี้ฟ้า/[30/10/59] ปลาตากแห้ง http://taxclinic.mof.go.th/products [30/10/59] รูปที่ 1 ตัวอย่างผลผลิตทางการเกษตร รูปที่ 2 แผนที่ความเข้มรังสีอาทิตย์ของประเทศไทย (ที่มา; http://www2.dede.go.th/renew/sola/mapmenu.html) วิทยาลัยพลังงาน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้พัฒนาเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์หลายๆ รูปแบบ เช่น เครื่องอบแห้งแบบแผงรับรังสีรวม เครื่องอบแห้งแบบแผงรับรังสีแยก เครื่องอบแห้งแบบ Passive เครื่องอบแห้งแบบ Active และ เครื่องอบแห้งแบบใช้พลังงานความร้อนร่วมกับแหล่งพลังงานชนิดอื่น เช่นไฟฟ้า ชีวมวล เป็นต้น ดังนั้น จึงมีเทคโนโลยีอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ในหลายๆ รูปแบบ ทั้งนี้เมื่อพิจารณาแล้วเห็นว่าการที่จะทำการถ่ายทอดเทคโนโลยีอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับเกษตรกรนั้น ตัวเทคโนโลยีต้องมีคุณสมบัติเบื้องต้น คือ 1. เป็นเทคโนโลยีที่มีขนาดเหมาะสม กับผลผลิตของเกษตรกร 2. เป็นเทคโนโลยีที่ สร้าง ใช้งาน บำรุงรักษา ได้ง่าย 3. เป็นเทคโนโลยีที่ใช้วัสดุสำหรับการสร้างที่หาชื้อได้ในชุมชน 4. ไม่เป็นการเพิ่มพาระด้านการลงทุนในระยะยาว (ไม่มีการใช้พลังงานอื่นๆ ในการทำงาน) ดังนั้นจึงเลือกเทคโนโลยีอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบ Passive และมีแผงรับรังสีรวม สำหรับการถ่ายทอด เนื่องจากเป็นรูปแบบเทคโนโลยีที่ไม่ต้องใช้พัดลม หรือมอเตอร์ไฟฟ้า และแผงรับรังสีอยู่ในบริเวณเดียวกับห้องอบแห้งจึงสามารถสร้างและบำรุงรักษาได้ง่าย และในการสร้างก็ใช้วัสดุที่หาได้ง่ายในพื้นที่ คือ เหล็กและกระจก ดังแสดงในรูปที่ 3 รูปที่ 3 ห้องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร (ตัวอย่าง) (ธเนศ ไชยชนะ วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้)

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อบริการวิชาการด้านการสร้าง การใช้งาน และการบำรุงรักษาห้องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเพื่อการพัฒนากลุ่มเกษตรกร กลุ่ม OTOP และกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการ สร้าง การใช้งาน และการบำรุงรักษาห้องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเพื่อการพัฒนากลุ่มเกษตรกร กลุ่ม OTOP และกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
เพื่อช่วยเพิ่มรายได้ และทางเลือกในการจากการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรสำหรับกลุ่มเกษตรกร กลุ่ม OTOP และกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1.ความต้องการสำหรับห้องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร 2.ห้องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร 3.วิธีการใช้งานและค่าคุณสมบัติของการใช้งาน 4.วิธีการใช้งานและค่าคุณสมบัติของการใช้งาน
KPI 1 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับการบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 บาท 100000
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 100
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 100
KPI 7 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1.ความต้องการสำหรับห้องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร 2.ห้องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร 3.วิธีการใช้งานและค่าคุณสมบัติของการใช้งาน 4.วิธีการใช้งานและค่าคุณสมบัติของการใช้งาน
ชื่อกิจกรรม :
- กิจกรรม สำรวจ ความต้องการสำหรับห้องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรของกลุ่มเกษตรกร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 28/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน 5 คน/วัน 1 วัน วันละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าเช่ายานพาหนะพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง 1 คัน/วัน 1 วัน 2,000 บาท/วัน/คัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน กระดาษ ปากกา คลิป เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ หมึกเครื่องพิมพ์ แผ่นบันทึกข้อมูล เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 4000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม อบรม การสร้างห้องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร โดยใช้ช่างในพื้นที่ร่วมกับ ช่างและนักศึกษาของวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 28/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน 20 คน/วัน 2 วัน วันละ 200 บาท 1 มื้อ/วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม 20 คน/วัน 2 วัน วันละ 50 บาท 2 มื้อ/วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่ายานพาหนะพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง 1 คัน/วัน 2 วัน 2,000 บาท/วัน/คัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน 5 คน/วัน 2 วัน วันละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร ผ้าใบ เชือก เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้าง เหล็ก ปูนชิเมนต์ หิน ทราย อิฐ สี ท่อ แปรงทาสี เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 25,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 48000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม อบรม ด้านการทดสอบการใช้งานจริง ห้องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ในพื้นที่ถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยใช้วัตถุดิบของชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 28/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน 10 คน/วัน 2 วัน วันละ 200 บาท 1 มื้อ/วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม 10 คน/วัน 2 วัน วันละ 50 บาท 2 มื้อ/วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่ายานพาหนะพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง 1 คัน/วัน 2 วัน 2,000 บาท/วัน/คัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน 5 คน/วัน 2 วัน วันละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เนื้อ หมู ปลา พริก ขิ่ง ข่า ใบมะกรูด เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน กระดาษ ปากกา คลิป เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ หมึกเครื่องพิมพ์ แผ่นบันทึกข้อมูล เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 16000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม จัดการบริการวิชาการให้ความรู้ด้านการสร้าง การใช้งาน และการบำรุงรักษาห้องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเพื่อการพัฒนากลุ่มเกษตรกร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 28/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ค่าอาหารกลางวัน
40 คน/วัน 1 วัน/ครั้ง 2 ครั้ง วันละ 200 บาท 1 มื้อ/วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 16,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม 0 คน/วัน 1 วัน/ครั้ง 2 ครั้งวันละ 50 บาท 2 มื้อ/วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่ายานพาหนะพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง 1 คัน 2 วัน 2,000 บาท/วัน/คัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน 5 คน/วัน 2 วัน วันละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน กระดาษ ปากกา คลิป เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ หมึกเครื่องพิมพ์ แผ่นบันทึกข้อมูล เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 32000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล