12040 : โครงการบริการวิชาการแก่สังคม (61-3.2.1)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 1/8/2561 11:41:56
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์ (Go Eco U.)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
17/01/2561  ถึง  30/09/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  คณาจารย์ นักศึกษาของคณะ และชุมชนภายนอก
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินบริจาค 2561 12,000.00
งบประมาณเงินรายได้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์
แผนงานรอง : แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
ผลผลิต : ผลงานการให้บริการวิชาการ
กิจกรรมหลักเผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์
แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม
งานบริการวิชาการแก่ชุมชน
กองทุนบริการวิชาการ
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
โครงการตามภารกิจยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย (ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4)
2561 22,500.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิทยา  ดวงธิมา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.1 ร้อยละของงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3-61-FAED มุ่งเน้นผลงานการบริการวิชาการ เพื่อพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
เป้าประสงค์ 3.1-61-FAED ผลงานบริการวิชาการเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ และนานาชาติ
ตัวชี้วัด 3FAED61-1 จำนวนโครงการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FAED-3.1.1-61 ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.2-61 สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริการวิชาการกับชุมชนภายนอก
กลยุทธ์ FAED-3.1.3-61 ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.4-61 สร้างโครงการบริการวิชาการในพื้นที่ Area Base ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-3.1.6-61 ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด 3FAED61-2 ร้อยละความพึงพอใจของชุมชนต่อการให้บริการวิชาการของคณะ
กลยุทธ์ FAED-3.1.1-61 ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.2-61 สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริการวิชาการกับชุมชนภายนอก
กลยุทธ์ FAED-3.1.3-61 ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.4-61 สร้างโครงการบริการวิชาการในพื้นที่ Area Base ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-3.1.6-61 ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด 3FAED61-3 ร้อยละของผลงานบริการวิชาการสู่การนำไปใช้ประโยชน์ต่อโครงการบริการวิชาการทั้งหมด
กลยุทธ์ FAED-3.1.1-61 ส่งเสริมให้มีความร่วมมือทางวิชาการเชิงรุก กับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.2-61 สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการบริการวิชาการกับชุมชนภายนอก
กลยุทธ์ FAED-3.1.3-61 ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-3.1.4-61 สร้างโครงการบริการวิชาการในพื้นที่ Area Base ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ FAED-3.1.6-61 ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สภาวะการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน ส่งผลให้เกิดภัยพิบัติในหลายๆประเทศทั่วโลก ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินและทรัพยากรมนุษย์อย่างใหญ่หลวง ประเทศไทยในปัจจุบันตกอยู่ภาวะความเสี่ยงจากสภาพเปลี่ยนแปลงจำเป็นต้องเรียนรู้ที่จะอยู่กับธรรมชาติอย่างสมดุล มีความรู้-ความเข้าใจและมีจิตสำนึกของการดำรงชีพอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข ด้วยการเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนในการปรับตัวและลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง โดยมุ่งเน้นให้ความสำคัญต่อชุมชนท้องถิ่น เพื่อให้ชุมชนท้องถิ่นมีสิ่งแวดล้อมที่ดี เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชนอื่นๆ การเรียนการสอนของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อมซึ่งแตกต่างไปจากสหสาขาวิชาอื่นๆ ประกอบกับข้อจำกัดของเวลาและภาระงานของคณาจารย์ในคณะ จึงมีผลให้คณาจารย์มีโอกาสในการสร้างผลงานวิจัยสู่งานบริการวิชาการ ดังนั้น การกำหนด “ทิศทาง แผนงานการบริการวิชาการและการประเมินผล” ที่เป็นรูปธรรม สามารถเสริมสร้างศักยภาพด้านการวิจัย การเรียนการสอนและงานบริการวิชาการสู่ชุมชน แบบบูรณาการสามเส้า โดยที่เวลาและภาระงานเอื้ออำนวย ดังนั้น การพัฒนาข้อเสนองานบริการวิชาการ การถ่ายทอด ทิศทาง แผนงานการบริการวิชาการเชิงพื้นที่ (Area Base) โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด ตลอดจนการบิการวิชาการแก่สังคมนั้นนำผลจากการวิจัยเมาใช้ประโยชน์เพื่อดำเนินการทางการวิจัยที่มีความชัดเจนมากขึ้น โครงการจัดทำแผนงานบริการวิชาการเพื่อสร้างโครงการและงานบริการที่เป็นรูปธรรม แผนงานบุคลากรรับผิดชอบและระยะเวลาที่ชัดเจนโดยคณาจารย์ทุกท่านมีส่วนร่วม เพื่อก่อให้เกิดความหลากหลายของสหวิชาการที่เอื้อประโยชน์ต่อการเรียนการบริการวิชาการและสามารถเพิ่มศักยภาพของคณาจารย์ด้านการบูรณาการการเรียน การสอน มาสู่การบริการวิชาการแก่สังคม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบวางแผนสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานด้านการศึกษาที่มีภารกิจการบริการวิชาการแก่สังคม นอกเหนือจากภารกิจหลักด้านการเรียนการสอน และการวิจัยทางด้านสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิทัศน์ และการออกแบบและวางแผนสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางการดำเนินงานในเชิงบูรณาการด้านการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการให้เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรม ในการดำเนินงานนั้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ ได้เห็นความจำเป็นในการดำเนินงานทุกภาคส่วน ด้วยการสร้างเครือข่ายการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และชุมชนรอบๆ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ทั้งตอบสนองชุมชนและเอื้อต่อสภาพแวดล้อม ภายใต้นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ พ.ศ. 2560 – 2564 และยุทธศาสตร์และแผนงานวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1) เพื่อเป็นการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และชุมชนในเขตพื้นที่อำเภอสันทราย (Sansai Model)
2) เพื่อส่งเสริมการบูรณาการการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการ งานวิจัยของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อมให้เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรม
3) เพื่อตอบสนองความต้องการชุมชนทางด้านการออกแบบวางแผนสิ่งแวดล้อม การวางผังเมือง สถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม และภูมิทัศน์
4) เพื่อบริหารจัดการความรู้จากงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ด้านการบริการวิชาการ และนำไปสู่การเผยแพร่ผลงานต่อชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการบริการวิชาการแก่สังคม
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 50
KPI 2 : ร้อยละโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของผู้รับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการได้รับการบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจในกระบวนการให้บริการวิชาการของผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการบริการวิชาการแก่สังคม
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการอบรมให้ความรู้การออกแบบเส้นทางท่องเที่ยวเกษตรเชิงนิเวศและปฏิบัติการ Workshop ปฏิบัติงานก่อสร้างภาคสนาม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 17/01/2561 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิทยา  ดวงธิมา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายธวัชชัย  มานิตย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (80 บาท x 50 คน x 3 มื้อ)-เงินรายได้
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถโดยสารไม่ประจำทาง-เงินรายได้
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารเย็น (80 บาท x 50 คน x 3 มื้อ)-เงินบริจาค
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ-เงินรายได้
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 29500.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมบริการวิชาการแก่ชุมชน และงานสนองโครงการพระราชดำริ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 17/01/2561 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิทยา  ดวงธิมา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายธวัชชัย  มานิตย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล