12125 : ฐานเรียนรู้ปลาบึกลูกผสมบึกสยามแม่โจ้และอาหารปลอดภัยสู่อินทรีย์ต้นแบบ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
นางกัลยารัตน์ วงศ์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/1/2561 10:41:39
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
25/01/2561  ถึง  28/09/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  1000  คน
รายละเอียด  เครือข่ายชุมชนและเอกชน เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น้ำ นักเรียน นักศึกษา ผู้สนใจ ทั้งในจังหวัดและทั่วประเทศ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2561 2561 80,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. เกรียงศักดิ์  เม่งอำพัน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61 MJU 4.2.7 ขับเคลื่อนและสนับสนุนการให้บริการวิชาการเพื่อสังคม และชุมชน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT.61-4 การบูรณาการองค์ความรู้ที่เพิ่มศักยภาพและขีดสมรรถนะของชุมชนและสนองงานโครงการในพระราชดำริ
เป้าประสงค์ FT.61-4.1 เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับ
ตัวชี้วัด FT.61-4-1 ระดับความสำเร็จของการบูรณาการผลงานบริการวิชาการสู่พันธกิจอื่นๆ ของคณะ
กลยุทธ์ FT.61-4.1.1 ส่งเสริมการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับพันธกิจอื่นๆ
ตัวชี้วัด FT.61-4-2 ระดับความสำเร็จของการบริการทางวิชาการแก่สังคม
กลยุทธ์ FT.61-4.1.2 ส่งเสริมและสนับสนุนการบริการวิชาการแก่สังคมทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากกระแสที่ผู้บริโภคหันมาสนใจสุขภาพและมีแนวโน้มความต้องการอาหารและของใช้ต่างๆ ที่ปลอดภัยหรือที่ผลิตด้วยระบบอินทรีย์ โดยเฉพาะอาหารสุขภาพมีความต้องการมากขึ้นตามลำดับ จึงมีการนำเข้าแปรรูปปลาหนังน้ำจืดปีละ 3 หมื่นล้านบาท และตลาดต่างประเทศกว่า 1 ล้านตัน (กรมศุลกากร 2557) ประเทศไทยเป็นประเทศผู้นำทางการแปรรูปอาหารจากทรัพยากรทางน้ำของโลก มูลค่ากว่า 5 แสนล้านบาท แต่ส่วนใหญ่เป็นทรัพยากรทางทะเล จากน้ำจืดมีประมาณ หลายพันล้านบาท และมียังมีน้อยมากในการแปรรูปอินทรีย์ในสัตว์น้ำจืด ทั้งที่มีความต้องการเพิ่มขึ้นปีละประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ โครงการนี้จะเป็นการเริ่มต้นที่มีความสำคัญและมีมูลค่าเพิ่มที่มีประโยชน์อย่างมาก ในทรัพยากรทางน้ำ ในแต่ละชนิดมีความแปรปรวนในองค์ประกอบตามชนิด จึงมีการเก็บรักษาและแปรรูปเพิ่มมูลค่าไม่เหมือนกัน โดยทั่วไปสัตว์น้ำเน่าเสียเร็วกว่าอาหารสดอื่นๆ และเกี่ยวข้องกับอันตรายสำคัญๆ ที่จะเกิดกับสุขภาพมากว่าการรักษาคุณภาพไว้จึงมีความสำคัญมาก โดยการนำทรัพยากรเหล่านี้มาทำการแปรรูปเพื่อยืดอายุการเก็บรักษา เพิ่มมูลค่าและยังคงความเป็นวัตถุดิบที่สด สะอาด อร่อย ปลอดภัย ซึ่งการจัดตั้งโรงงานแปรรูปทรัพยากรทางน้ำ สู่ผลิตภัณฑ์อินทรีย์เพื่อวิสาหกิจชุมชนนำร่อง จะเป็นแหล่งเรียนรู้และเป็นแหล่งที่รองรับวัตถุดิบที่จะไปเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบต่างๆ ที่ผู้บริโภคสนใจ เป็นอาหารสุขภาพและอาหารเสริมได้ ตลอดจนสามารถเพิ่มมูลค่าได้มากกว่า 100-500 เปอร์เซ็นต์ ลดของเสียจากการผลผลิต ซึ่งสามารถนำไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ได้เกือบทั้งหมด เพิ่มการแข่งขันและช่องทางการตลาดให้กับชุมชน เพื่อต่อยอดสู่วิสาหกิจ จากยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศที่มีเป้าหมายสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน โดยการใช้องค์ความรู้จากการวิจัยและนวัตกรรมมาขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยสู่ Thailand 4.0 เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ดังกล่าวจึงมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วนในการสร้างและพัฒนาบุคลากรทางด้านการวิจัยและปัจจัยพื้นฐานทางการวิจัยที่มีคุณภาพ นำสู่การสร้างนวัตกรรมที่สามารถตอบสนองตามความต้องการของทุกภาคส่วนตั้งแต่เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม และอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางการตลาดและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก ปลาลูกผสมบึกสยามแม่โจ้ได้รุ่นที่ 2 ในปี 2555 และปลาลูกผสม Silver Catfish ในปี 2557 จากการเพาะเลี้ยงในบ่อดินได้ครั้งแรกของโลก จนสามารถผลิตลูกปลาได้เพียงพอกับความต้องการเพื่อพัฒนาอาชีพในระดับชุมชน โดยได้นำลูกปลาไปทำการเลี้ยงในระดับชุมชนจนสามารถเลี้ยงเป็นอาชีพได้สำเร็จในระดับหนึ่ง สามารถเพิ่มมูลค่าและสร้างเป็น Brand ของประเทศได้ในตลาดชั้นดี Premium grade ได้ จนสามารถส่งผลงานไส้กรอกปลาที่อุดมด้วยโอเมก้า 3 6 และ 9 จากผลงานและคุณค่าที่เป็นประโยชน์ดังกล่าวทีมงานจึงได้รับรางวัลอธิ รางวัล Silver Medal และ Special Award และ Special Award จาก Korea Invention Academy ในงาน International Warsaw Invention IWIS 2014, Warsaw Poland และส่งผลงานนวัตกรรมระบบการผลิตและการเพิ่มมูลค่าปลาหนังลูกผสมเพื่อชุมชน งานแสดง: The 8 th European Exhibition of Creativity and Innovation 2016 (EURO INVENT) วันที่ 19-21 พ.ค. 2559 ที่ประเทศโรมาเนีย หัวข้อในเข้าประกวด : Innovative Aquaculture System on Hybrid Catfish Production for Community: HCPC system. ได้รับรางวัล Excellence Diploma และ Special Price ของ Banat’s University of Agriculture Sciences and Veterinary Medicine “KING MICHAEL The 1 st of ROMANIA” จาก Timisoara และรางวัล Gold Medal ของงาน EURO INVENT ประเทศโรมาเนีย และรางวัล Special Award ของ Association of Polish inventors and Rationalizers จากประเทศโปแลนด์ และได้รับถ้วยรางวัล "Platinum Award" พระราชทานจากสมเด็จพระเทพฯ จากงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2559 เรื่อง นวัตกรรมระบบการผลิต และการเพิ่มมูลค่าปลาหนังลูกผสมเพื่อชุมชน อีกทั้งการแปรรูปเพิ่มมูลค่ายังสามารถตอบสนองนโยบายของรัฐบาลโครงการ อุตสาหกรรมอาหารเกษตรอินทรีย์ของ จ. เชียงใหม่ Northern Food Valley เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติทางด้านเกษตรอินทรีย์ ซึ่งเป็นการสร้างโอกาส อาชีพ และรายได้อย่างยั่งยืนให้กับเกษตรกรและการสนับสนุนวิสาหกิจชุมชนได้อีกด้วย ประกอบกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำทางด้านเกษตรและประมงมาอย่างช้านาน อีกทั้งยังมีนโยบายในการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่การเป็น Organic, Green and Eco University อีกด้วยปัจจุบันปลาหนังน้ำจืดได้รับความนิยมจากผู้บริโภคเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นอาหารสุขภาพที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เป็นแหล่งของโปรตีน วิตามิน แร่ธาตุ และกรดไขมันที่ดีกลุ่มโอเมก้า 3 ที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและการพัฒนาของสมอง จึงทำให้มีการเพาะเลี้ยงปลาหนังลูกผสมมากขึ้นในประเทศไทย ปลาหนังลูกผสมที่พบในตลาดในประเทศ ได้แก่ ปลาสวาย ปลามรกต ปลาดอลลี่ และปลาลูกผสม เป็นต้น โดยในปี พ.ศ. 2550 พบว่า ตลาดในประเทศมีความต้องการปลากลุ่มนี้มูลค่าประมาณ 3 พันล้านบาท ส่วนในตลาดต่างประเทศ เช่น กลุ่มประเทศแถบยุโรป อเมริกา มาเลเซีย สิงคโปร์ มีความต้องการประมาณ 1-2 ล้านตัน/ปี อย่างไรก็ตามในปัจจุบันยังไม่สามารถผลิตลูกปลาที่มีสายพันธุ์ดีได้เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภคที่เพิ่มมากขึ้นดังนั้นทีมวิจัยจึงได้พัฒนาปลาหนังสายพันธุ์ใหม่ขึ้นมาเพื่อส่งเสริมการเพาะเลี้ยงปลาหนังดังกล่าวในเชิงอาชีพ ให้แก่เกษตรกร และพัฒนาสู่การเลี้ยงในระดับอุตสาหกรรม เพื่อลดการนำเข้าและสนับสนุนการส่งออก ในขบวนการเลี้ยงปลาบึกและปลาหนังลูกผสม สามารถผลิตเป็นอาหารปลาสุขภาพสู่อินทรีย์ได้โดยการใช้อาหารธรรมชาติ เช่น สาหร่าย แพลงก์ตอน พืชน้ำ และพืช วัสดุจากจากท้องถิ่นที่เป็นอินทรีย์และเป็นอาหรปลอดภัย จะช่วยลดต้นทุนการผลิตเนื่องจากอาหารเม็ดมีราคาแพงและไม่คุ้มทุนในการผลิตปลา นอกจากนี้ส่วนที่เหลือจากการแล่เนื้อปลาที่ทิ้งเดิมยังสามารถแปรรูปเพิ่มมูลค่าได้ เช่น เครื่องใน และกระดูกปลาสามารถนำมาแปรรูปเป็นอาหารสัตว์ และสามารถสร้างเป็นรูปแบบตัวอย่าง การเรียนรู้การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำแบบอินทรีย์ได้อีกด้วย นอกจากนี้มีการฝึกอบรมจัดตั้งบ่อสาธิตการเลี้ยงปลาดังกล่าวในระดับชุมชน ตลอดจนมีผู้มาศึกษาดูงาน ณ ฐานเรียนรู้ปีละกว่า 2,500 คน การดำเนินโครงการฐานเรียนรู้ปลาบึกลูกผสมบึกสยามแม่โจ้และอาหารปลอดภัยสู่อินทรีย์ต้นแบบ ประจำปี 2561 กำหนดเป้าหมายสอดคล้องประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย การบูรณาการองค์ความรู้ เพื่อเพิ่มสมรรถนะของชุมชนและการสนองงานโครงการในพระราชดำริ เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับ พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลางการให้บริการตาม Roadmap และร้อยละของโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยระยะ 15 ปี (Go-Eco-U) ดังนั้น เพื่อให้โครงการการพัฒนาและการเพิ่มมูลค่าอาหารสัตว์น้ำอินทรีย์ ประจำปี 2561 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของโครงการ จึงจำเป็นต้องดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การส่งเสริมเกษตรกรในเครือข่ายการผลิตปลาอินทรีย์ และเกษตรกรผู้เพาะสาหร่ายบรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ และลดผลกระทบด้านวัตถุดิบไม่เพียงพอต่อการพัฒนาและเพิ่มมูลค่าอาหารสัตว์น้ำอินทรีย์ในอนาคตได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูป เพิ่มมูลค่าสู่อาหารสำหรับอนาคต (สำหรับผู้สูงอายุ) และสร้าง Brand ของผลิตภัณฑ์ โดยเน้นมาตรฐานผลิตภัณฑ์อินทรีย์เพื่อสุขภาพ จำนวน 5 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ปลาแดดเดียว ปลารมควัน ปลาแล่เนื้อ วิตามินเสริมในอาหารปลา (Supper premix) และอาหารปลาผสม Supper premix
เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบสัตว์น้ำอินทรีย์ที่มีความเป็นเลิศด้านปลาบึกให้แก่ชุมชน นักศึกษาและประชาชนทั่วไป ในด้านบริการวิชาการให้ชุมชน การเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี โท และเอก ที่จะสามารถเลี้ยงตัวเองได้ในอนาคต
ผู้บริโภคได้มีอาหารสัตว์น้ำแปรรูปอินทรีย์และสุขภาพดีขึ้น
สร้างความมั่นคงทางอาหารและวิสาหกิจชุมชน ตลอดจนส่งเสริมโครงการ Northern Food Valley ของจังหวัด และอุตสาหกรรมเกษตรอินทรีย์ จ.เชียงใหม่ และของประเทศ
เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับผลิตภัณฑ์อาหารปลาที่ได้จากผลพลอยได้การแปรรูปเนื้อปลาอินทรีย์อย่างน้อย 1 ชนิด
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1. ผลผลิตเป้าหมายผลิตภัณฑ์แปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า 500 กก. มูลค่า 0.1 ล้าน มีผลิตภัณฑ์ (Brand) จำนวน 5 ผลิตภัณฑ์ 2. ได้เกษตรกรก้าวหน้า ภัตตาคาร ร้านอาหาร และภาคธุรกิจอาหาร เพื่อสร้างผู้นำในการพัฒนาและเพิ่มมูลค่าเศษเหลือจากปลา 3. ผู้บริโภคมีอาหารสุขภาพเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และมีความมั่นคงทางอาหารเพิ่มขึ้น ปีละ 2,000 กก. 4. ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการผลิตและการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหารสัตว์น้ำ
KPI 1 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสนอต่อผู้ประกอบการระดับอุตสาหกรรมอาหาร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ผลิตภัณฑ์ 2
KPI 2 : ได้สูตรและผลิตภัณฑ์แปรรูปที่เหมาะสมต่อผู้บริโภคสัตว์น้ำอินทรีย์ และ Brand เพื่อเผยแพร่แก่เกษตรกรที่สนใจ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ผลิตภัณฑ์ 5
KPI 3 : จัดนิทรรศการแนะนำผลิตภัณฑ์และการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของตลาดอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ครั้ง 10
KPI 4 : จัดทำคู่มือเอกสารแนะนำการเพาะเลี้ยงปลาในระบบอินทรีย์และการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 เรื่อง 1
KPI 5 : จำนวนผู้เข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 1000
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 7 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ล้านบาท 0.08
KPI 8 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 9 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 10 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลา
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 11 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1. ผลผลิตเป้าหมายผลิตภัณฑ์แปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า 500 กก. มูลค่า 0.1 ล้าน มีผลิตภัณฑ์ (Brand) จำนวน 5 ผลิตภัณฑ์ 2. ได้เกษตรกรก้าวหน้า ภัตตาคาร ร้านอาหาร และภาคธุรกิจอาหาร เพื่อสร้างผู้นำในการพัฒนาและเพิ่มมูลค่าเศษเหลือจากปลา 3. ผู้บริโภคมีอาหารสุขภาพเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และมีความมั่นคงทางอาหารเพิ่มขึ้น ปีละ 2,000 กก. 4. ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการผลิตและการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหารสัตว์น้ำ
ชื่อกิจกรรม :
ผลผลิตเป้าหมายผลิตภัณฑ์แปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า 500 กก. มูลค่า 0.1 ล้าน มีผลิตภัณฑ์ (Brand) จำนวน 5 ผลิตภัณฑ์
กิจกรรมที่ 1 ได้สูตรและผลิตภัณฑ์แปรรูปที่เหมาะสมต่อผู้บริโภคสัตว์น้ำอินทรีย์ และ Brand เพื่อเผยแพร่แก่เกษตรกรที่สนใจ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 25/01/2561 - 29/06/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์  เม่งอำพัน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 2 คนๆ ละ 2,100 บาท รวมเป็นเงิน 4,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร ได้แก่ รำละเอียด, กากถั่วเหลือง, ปลายข้าว, ปลาป่น รวมเป็นเงิน 36,436 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 36,436.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ชุดทดสอบไนเตรต, ชุดทดสอบไนไตร,เพรทแก้ว, ไมโครปิเปท รวมเป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 47836.00
ชื่อกิจกรรม :
ผลผลิต ได้เกษตรกรก้าวหน้า ภัตตาคาร ร้านอาหาร และภาคธุรกิจอาหาร เพื่อสร้างผู้นำในการพัฒนาและเพิ่มมูลค่าเศษเหลือจากปลา กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสนอต่อผู้ประกอบการระดับอุตสาหกรรมอาหาร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 25/01/2561 - 30/03/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์  เม่งอำพัน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว ได้แก่ ถังน้ำ, ถุงซีลสามด้าน, ถุงขยะ, ถังขยะ, มีด, ถาด, ผ้าเช็ดมือ รวมเป็นเงิน 14,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 14000.00
ชื่อกิจกรรม :
ผลผลิต ผู้บริโภคมีอาหารสุขภาพเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และมีความมั่นคงทางอาหารเพิ่มขึ้น ปีละ 2,000 กก.กิจกรรมที่ 3 จัดนิทรรศการแนะนำผลิตภัณฑ์และการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของตลาดอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 25/01/2561 - 28/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์  เม่งอำพัน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักแบบเหมาจ่าย คืนละ 800 บาท จำนวน 3 วัน จำนวน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง จำนวน 4 วัน x 270 บาท x 1 คน รวมเป็นเงิน 1,080 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,080.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับการใช้พาหนะส่วนตัว จำนวน 2,046 กิโลเมตร x 4 บาท รวมเป็นเงิน 8,184 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,184.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำแผ่นพับแจกฐานเรียนรู้ จำนวน 1,000 แผ่น x 3 บาท จำนวน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 14664.00
ชื่อกิจกรรม :
ผลผลิต ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการผลิตและการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหารสัตว์น้ำ กิจกรรมที่ 4 จัดทำคู่มือเอกสารแนะนำการเพาะเลี้ยงปลาในระบบอินทรีย์และการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ได้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/04/2561 - 31/05/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์  เม่งอำพัน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
จ้างเหมาทำคู่มือแนะนำการเลี้ยงปลาลูกผสมบึกสยามฯ จำนวน 50 เล่มๆ ละ 70 บาท รวทเป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 3500.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
กำลังการผลิตการเลี้ยงปลาจากเกษตรกรอยู่ในเกณฑ์น้อย
คุณภาพของเนื้อปลาที่ได้จากเกษตรกรในเครือข่าย เช่น มีไขมันแทรกในเนื้อ
อาหารปลาที่ใช้ในการเลี้ยงต้องมีประสิทธิภาพและคุณภาพ
ระบบการจัดการการขาย
การยอมรับผลิตภัณฑ์จากปลาลูกผสมบึกสยามแม่โจ้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ส่งเสริมเกษตรกรผู้เลี้ยงปลารายใหม่เพิ่มมากขึ้น
นำปลาที่ได้จากเกษตรกรมาพักเลี้ยงในบ่อดิน ประมาณ 1 เดือน โดยการให้อาหารอินทรีย์ก่อนนำไปแปรรูป และจัดจำหน่าย
กำกับ อบรม และปรับอาหารให้มีคุณภาพและเหมาะสมต่อการเลี้ยงปลา
จัดการวางระบบการตลาดให้ชัดเจน สนับสนุนและส่งเสริมเกษตรกรที่สนใจให้สามารถพึ่งพาตนเองได้
ทำแบบสอบถาม เพื่อการปรับปรุงและพัฒนา
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล