12126 : โครงการการพัฒนาแหล่งเรียนรู้การผลิตและการแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพรกำจัดศัตรูพืชและพืชเครื่องเทศอินทรีย์ครบวงจร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
น.ส.ปรัชวัน อ่อนคง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/1/2561 10:47:03
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2560  ถึง  30/09/2561
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  500  คน
รายละเอียด  1. กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตพืชเครื่องเทศในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ และกลุ่มเกษตรกรอื่นๆ 2. กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตในระบบการเกษตรอินทรีย์ 3. กลุ่มผู้ใช้ผลิตผล ได้แก่ ผู้ประกอบการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องเทศ ผู้ประกอบการร้านอาหาร และประชาชน 4. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 5. กองคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า 6. ส่วนสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรม กองพัฒนาอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารอินทรีย์จังหวัดเชียงใหม่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 2561 1,570,800.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. เทิดศักดิ์  โทณลักษณ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61 MJU 4.4 จำนวนผลผลิต และผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการสร้างรายได้จากการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงด้านการเกษตรในระดับต้นๆ ของประเทศไทย มีการเรียนการสอนและฐานเรียนรู้ด้านการเกษตรที่หลากหลาย อีกทั้งเป็นหน่วยงานที่เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเกษตรอินทรีย์เสมอมา และมีแนวทางก้าวไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำด้านการเกษตรอินทรีย์ วิทยาการทางด้านสมุนไพรถือเป็นพันธกิจหนึ่งของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีการจัดสร้างสวนสมุนไพรแม่โจ้ (ชีวกโกมารภัจจ์) ซึ่งอนุรักษ์พืชสมุนไพรอย่างครบวงจร ตั้งเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อเป็นการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นทางด้านสมุนไพร อีกทั้งยังมีการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาวิทยาการสมุนไพร (สหวิทยาการ) ซึ่งเน้นการเรียนการสอนเกี่ยวกับสมุนไพรแบบครบวงจรตั้งแต่การผลิต การสกัดวิเคราะห์สารสำคัญ การสร้างผลิตภัณฑ์สมุนไพรต่างๆ และการจัดจำหน่าย ด้วยเหตุนี้เอง การพัฒนาให้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ให้เป็นที่ยอมรับและเป็นผู้นำด้านการผลิตและแปรรูปสมุนไพรและพืชเครื่องเทศอินทรีย์ในระดับชาติและนานาชาติจึงเป็นความจำเป็นยิ่ง พืชเครื่องเทศสามารถเป็นวัตถุดิบในผลิตภัณฑ์อาหารหลากหลายชนิด นอกจากการใช้บริโภคภายในประเทศแล้ว ประเทศไทยมีการส่งออกพืชเครื่องเทศไปยังประเทศที่นิยมในผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของเครื่องเทศเป็นส่วนประกอบ เช่น อาหารไทย อาหารเพื่อสุขภาพ ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากธรรมชาติต่างๆ ดังนั้นหากประเทศไทยสามารถพัฒนาการผลิตพืชเครื่องเทศให้มีคุณภาพและมีความปลอดภัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลิตในรูปแบบอินทรีย์ เนื่องจากพืชเครื่องเทศมีประโยชน์หลักคือ ใช้บริโภคโดยการรับประทาน ทำให้ ต้องการความปลอดภัยสูงจากผลผลิต ดังนั้น หากมีการวิจัยและหน่วยงานต้นแบบการผลิตพืชเครื่องเทศอินทรีย์สำหรับส่งเสริมศักยภาพการผลิตและควบคุมคุณภาพพืชเครื่องเทศของเกษตรกร ก็จะเป็นการส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มเข้าสู่ตลาดโลกต่อไปได้ในอนาคต นอกจากนี้สิ่งที่มีความจำเป็นยิ่งสำหรับการผลิตในระบบอินทรีย์นั้นก็คือ การบริหารจัดการศัตรูพืช ไม่ว่าจะเป็น วัชพืช โรคพืช แมลงศัตรูพืช ฯลฯ ซึ่งต้องเปลี่ยนจากการใช้สารเคมีมาเป็นการใช้สารที่มาจากธรรมชาติ ดังนั้น การบริการความรู้ด้านการผลิต และแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพรกำจัดศัตรูพืช โดยเน้นเพื่อใช้การการผลิตพืชในระบบเกษตรอินทรีย์ขึ้น สำหรับบริการวิชาการทางด้านการผลิตพืช และพัฒนาผลิตภัณฑ์กำจัดศัตรูพืชจากสมุนไพร สำหรับใช้ในการกำจัดศัตรูพืช ให้แก่เกษตรกร นักศึกษา และผู้สนใจทั้งในและต่างประเทศ เพื่อให้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ก้าวสู่การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีความเป็นเลิศทางการอินทรีย์ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาแหล่งบริการทางวิชาการด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์กำจัด ศัตรูพืชจากพืชสมุนไพร สำหรับใช้ในการเกษตรระบบอินทรีย์
เพื่อพัฒนาแหล่งบริการทางวิชาการด้านการผลิตพืชเครื่องเทศอินทรีย์
เพื่อก้าวสู่การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีความเป็นเลิศทางการผลิตพืชอินทรีย์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : กิจกรรม : แหล่งเรียนรู้การผลิตและการแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพรกำจัดศัตรูพืชและพืชเครื่องเทศอินทรีย์ครบวงจร ผลผลิต 1. การผลิตพืชสมุนไพรป้องกันกำจัดศัตรูพืช ได้แก่ ตะไคร้หอม ว่านน้ำ ขมิ้นชัน และหนอนตายหยาก เป็นต้น 2. การผลิตพืชเครื่องเทศอินทรีย์ ได้แก่ ขมิ้นชัน กระชาย มะกรูด และตะไคร้ เป็นต้น 3. พัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรกำจัดศัตรูพืชที่เป็นเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้อย่างน้อย 1 ชนิด (น้ำมันตะไคร้หอม และ/หรือ ว่านน้ำบดผง) 4. เป็นแหล่งเรียนรู้และเข้าศึกษาดูงานของเกษตรกร ชุมชน องค์กร และผู้สนใจ
KPI 1 : แหล่งเรียนรู้การผลิตและการแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพรกำจัดศัตรูพืชและพืชเครื่องเทศอินทรีย์ครบวงจร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ไร่ 5
KPI 2 : จำนวนชนิดของพืชเครื่องเทศ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ชนิด 4
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนพืชสมุนไพรป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ชนิด 4
KPI 5 : จำนวนผลิตภัณฑ์สมุนไพรกำจัดศัตรูพืช
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ชนิด 1
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 7 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 500
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : กิจกรรม : แหล่งเรียนรู้การผลิตและการแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพรกำจัดศัตรูพืชและพืชเครื่องเทศอินทรีย์ครบวงจร ผลผลิต 1. การผลิตพืชสมุนไพรป้องกันกำจัดศัตรูพืช ได้แก่ ตะไคร้หอม ว่านน้ำ ขมิ้นชัน และหนอนตายหยาก เป็นต้น 2. การผลิตพืชเครื่องเทศอินทรีย์ ได้แก่ ขมิ้นชัน กระชาย มะกรูด และตะไคร้ เป็นต้น 3. พัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรกำจัดศัตรูพืชที่เป็นเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้อย่างน้อย 1 ชนิด (น้ำมันตะไคร้หอม และ/หรือ ว่านน้ำบดผง) 4. เป็นแหล่งเรียนรู้และเข้าศึกษาดูงานของเกษตรกร ชุมชน องค์กร และผู้สนใจ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม : ฐานเรียนรู้การผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพรกำจัดศัตรูพืชและพืชเครื่องเทศ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนงานด้านการผลิตพืช (วุฒิปริญญาตรี)
จำนวน 1 คน x 15,000 บาท x 9 เดือน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนงานด้านการแปรรูปสมุนไพร (วุฒิปริญญาตรี)
จำนวน 1 คน x 15,000 บาท x 9 เดือน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนงานด้านการจัดการเอกสารโครงการ (วุฒิปริญญาตรี)
จำนวน 1 คน x 15,000 บาท x 9 เดือน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนงานด้านการเกษตร จำนวน 3 คน
จำนวน 3 คน x 300 บาท x 26 วัน x 9 เดือน
คนที่ 1 ดูแลรักษาพื้นที่ปลูกพืชสมุนไพรและพืชเครื่องเทศ
คนที่ 2 ดูแลรักษาโรงเรือนขยายพันธุ์พืชสมุนไพรและพืชเครื่องเทศ
คนที่ 3 ดูแลกระบวนการเก็บเกี่ยวและผลิตผลิตภัณฑ์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 210,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำแผ่นพับและโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์โครงการ
ได้แก่ ป้ายโครงการ โปสเตอร์ แผ่นพับ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
ได้แก่ ต้นกล้าพืชสมุนไพร เมล็ดพันธุ์พืชสมุนไพร มูลวัว ไม้ไผ่ ปุ๋ยอินทรีย์ ดินดำ แกลบดิบ เปลือกถั่ว ตาข่ายพรางแสง สายยางเขียว หัวสปริงเกอร์ พลาสติกมุงหลังคา หัวน้ำหยด ถาดเพาะขนาด ถุงปลูกพลาสติกดำ กระถางพลาสติก เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 750,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้าง
ได้แก่ ท่อและข้อต่อ PVC สำหรับติดตั้งระบบน้ำ
บ่อซีเมนต์สำหรับปลูกพืช หินกรวดสำหรับปรับระดับพื้น ทรายละเอียดสำหรับชำกล้าและปลูกอนุบาลพืช
อิฐบล็อกสำหรับกั้นแนวแปลงปลูก เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 80,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์
ได้แก่ ขวดดูแลนสีใส ขวดดูเลนสีชา เครื่องแก้ว กระดาษกรอง สารมาตรฐานวิเคราะห์สมุนไพร เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 95,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
ได้แก่ กระดาษ เครื่องเขียน เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1570800.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล