12147 : โครงการการพัฒนาศักยภาพของวิสาหกิจชุมชนเพื่อผลิตและแปรรูปสัตว์น้ำแบบอินทรีย์สู่ระบบอุตสาหกรรมประมงอินทรีย์ในจังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
น.ส.ปรัชวัน อ่อนคง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 23/1/2561 14:32:13
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2560  ถึง  30/09/2561
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  210  คน
รายละเอียด  เกษตรกรหรือบุคคลที่สนใจในชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียง จำนวน 210 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารอินทรีย์จังหวัดเชียงใหม่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 2561 4,800,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. นิวุฒิ  หวังชัย
รองศาสตราจารย์ ทิพสุคนธ์  พิมพ์พิมล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ด้วยจังหวัดเชียงใหม่เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวปีละหลายล้านคน อุตสาหกรรมที่ต้องตอบรับและสอดคล้องคืออุตสาหกรรมอาหาร และด้วยภูมิประเทศและภูมิสังคมของจังหวัดเชียงใหม่สามารถเป็นครัวของโลกได้ จากข้อมูลพบว่าความต้องการบริโภคสัตว์น้ำมากขึ้นทุกปีผู้บริโภคหันมาสนใจอาหารสัตว์น้ำที่ปลอดภัยและอาหารอินทรีย์มากขึ้น การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเป็นอาชีพที่นับวันมีความสำคัญมากขึ้นโดยเฉพาะกลุ่มปลาแต่เนื่องจากสัตว์น้ำจากธรรมชาติลดลงจึงต้องพึ่งผลผลิตจากการเลี้ยง ปัจจุบันผู้บริโภคให้ความสำคัญของคุณภาพและอาหารปลอดภัยเป็นอย่างมาก มหาวิทยาลัยแม่โจ้มีนโยบายในพันธะกิจที่มุ่งเน้นทางด้านการเกษตรเพื่อความมั่นคงด้านอาหารโดยเฉพาะอาหารอินทรีย์ (Organic Food) ดังนั้นเพื่อตอบสนองนโยบายที่เพิ่มความมั่นคงด้านอาหาร คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำได้มีการเรียนการสอนแก่นักศึกษาในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ทางด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ดังนั้น การนำนักศึกษาเข้าสู่การเรียนรู้ในชุมชนนั้นจะเป็นประโยชน์ในการเรียนการสอนของนักศึกษาและประชาชนทั่วไปในอนาคต ซึ่งงานวิจัยนี้เป็นการเปิดโอกาสการเรียนรู้ด้านการผลิตสัตว์น้ำเชิงอินทรีย์ไปพร้อมกัน ปัจจัยการผลิตสัตว์น้ำที่สำคัญคือ พื้นที่การเลี้ยงสัตว์น้ำที่มีโอกาสขยายตัวเพื่อรองรับในอนาคต ก่อนหน้านี้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้ส่งเสริมให้เกษตรกรทำการเกษตรเชิงอินทรีย์ (Organic Agriculture) ในพื้นที่อำเภอแม่แตงและอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ โดยข้อได้เปรียบของพื้นที่ดังกล่าวนั้นคือการมีระบบชลประทานที่พร้อมและมีความรู้พื้นฐานด้านการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเชิงอินทรีย์ งานวิจัยที่ผ่านมานั้นมุ่งเน้นการผลิตอาหารสัตว์น้ำแบบอินทรีย์ ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องกับโครงการ Northern Food Valley ของจังหวัดเชียงใหม่ งานวิจัยและพัฒนาครั้งนี้จะสร้างความต่อเนื่อง เพื่อสร้าง Chiangmai Organic Fish Valley โดยมีวัตถุประสงค์มีกิจกรรมหลัก 4 ประการคือ 1) การสร้างระบบการผลิตสัตว์น้ำอินทรีย์ (เน้นปลากะพงขาว) ในวิสาหกิจชุมชน ใน 3 อำเภอ คือ อำเภอแม่แตง อำเภอสันป่าตองและอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่โดยเทคนิคการเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่ที่จำกัด (Land-Base Aquaculture) ร่วมกับการควบคุมคุณภาพน้ำด้วยระบบหมุนเวียน (Recirculation Aquaculture System) ภายใต้โดมความร้อน (Green House) ซึ่งเป็นนวัตกรรมใหม่ของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ลดการใช้น้ำในการผลิต (Smart aquaculture) 2) การสร้างจุดเรียนรู้และสาธิตการเลี้ยงสัตว์น้ำแบบอินทรีย์ 4 จุด คือ จุดสาธิตการเลี้ยงการเลี้ยงปลากะพงขาว 2 จุดและจุดสาธิตการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ปลากะพงขาว คือศูนย์การการพัฒนา 3) การฝึกอบรมเกษตรกร จำนวน 200 คน และฟาร์มขอขึ้นทะเบียนผู้ผลิตสัตว์น้ำ 10 ราย และ 4) แปรรูปและสร้างผลิตภัณฑ์ปลากะพงขาว 2 ผลิตภัณฑ์ โครงการนี้จะผลกระทบในทางที่เป็นประโยชน์เช่น การสร้างอาชีพและการจ้างงานในชุมชน ชุมชนและผู้บริโภคมีอาหารปลอดภัยที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ มีการใช้ทรัพยากรน้ำอย่างคุ้มค่า มีศูนย์การเรียนรู้เพื่อรับข่าวสาร และชุมชนมีความเชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัย กรมประมง และอุตสาหกรรมอาหาร โครงการยุทธศาสตร์ Chiangmai Fish Valley ขับเคลื่อนภาคอุตสาหกรรมอาหารเชียงใหม่สู่ตลาดโลก การประเมินพื้นที่นำร่องเพื่อดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ Chiangmai Fish Valley ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในห่วงโซ่อุปทานปลาน้ำจืด ประกอบด้วย 1. ธุรกิจเพาะพันธุ์และอนุบาลลูกปลา 1.1 ธุรกิจเพาะพันธุ์ปลา แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม 1.1.1 การผลิตลูกปลาโดยเกษตรกร ปัจจุบันเกษตรกรผู้เพาะพันธุ์ปลามีจำนวนลดลงมาก เหลือเพียงรายย่อยในบางพื้นที่ที่ มีแหล่งน้ำเสริมจากระบบชลประทานหรืออ่างเก็บน้ำ รวมทั้งระบบบ่อบาดาล 1.1.2 ฟาร์มเพาะฟักลูกปลาแปลงเพศ ในปัจจุบันเกษตรกรผู้เลี้ยงมีความต้องการลูกปลาที่มีการแปลงเพศจำนวนมาก ผู้ประกอบการจึงปรับเปลี่ยนมาผลิตลูกปลาแปลงเพศมากขึ้น 1.2 ฟาร์มอนุบาลลูกปลา ส่วนใหญ่ปรับเปลี่ยนจากฟาร์มเพาะฟักมาเป็นอนุบาลลูกปลา โดยเฉพาะปลาเศรษฐกิจ เพื่อประหยัดการใช้พื้นที่และลดค่าแรงงาน 2. เกษตรกรผู้เลี้ยงปลา แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มสำคัญ คือ 2.1 เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาในระบบพันธะสัญญา ได้แก่ เกษตรกรที่ ต้องการผลิตในเครือข่ายการผลิตและการตลาดของบริษัทผู้ขายอาหารปลา พบมากในการเลี้ยงปลานิลในกระชังในเขตภาคเหนือ 2.2 เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาแบบอิสระ ได้แก่ เกษตรกรที่ต้องการเลี้ยงปลาเอง โดยการซื้อลูกปลาและอาหารปลาตามแหล่งที่ ตนเองเห็นว่าเหมาะสม เมื่อครบกำหนดเกษตรกรสามารถขายได้ด้วยตนเอง หรืออาศัยผู้ค้าคนกลางซึ่งเป็นคนเชื่อมตลาด ผู้เลี้ยงปลาแบบอิสระพบในการเลี้ยงในบ่อดิน สำหรับผู้เลี้ยงปลาแบบอิสระ อีกกลุ่ม คือเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาในสระน้ำประจำไร่นาเพื่อบริโภคในครัวเรือนและขายในตลาดท้องถิ่น มีแพร่หลายทุกจังหวัด 3. ผู้ค้าหรือผู้รวบรวม ธุรกิจการเลี้ยงปลาเพื่อการค้าจำเป็นต้องขายผ่านพ่อค้าคนกลาง คนกลางคนแรกที ซื้อปลาเนื้อจาก เกษตรกรนิยมเรียกว่า เป็นทั้งคนกลางอิสระและคนกลางที ท่าธุรกิจเชื่อมโยงกับผู้ค้าอาหารปลาและผู้ค้าปลีก สำหรับในพื้นที่ที่มีการเลี้ยงปลาจำนวนมาก ผู้ค้าปากบ่อจะมีหลายคน และทำหน้าที่ตามลำดับ ดังนี้ “ผู้ค้าปากบ่อ” (1) เป็นคนกลางรับคำสั่งซื้อปลาจากผู้ค้าปลาในตลาดค้าปลีก (2) เป็นคนกลางรับค่าเสนอขายปลาจากผู้เลี้ยงหรือผู้ขายอาหารปลา (3) เป็นผู้จัดคิวจับปลาให้ผู้เลี้ยงปลาและช่วยระบายปลาเนื้อ โดยเฉพาะช่วงที ปลามีปัญหา จำเป็นต้องจับขายให้หมดทั้งรุ่นโดยเร็ว (4) ขายส่งให้ผู้ค้าปลีกในหลายๆ ตลาดรวมทั้งผู้แปรรูป 4. ผู้ค้าปลีก ผู้ค้าปลีกเป็นผู้รับซื้อปลาสดจากผู้ค้าส่งขาประจำ ทั้งต่างพื้นที และในพื้นที เดียวกัน ผู้ค้าปลีกจะรับปลา ช่วงกลางดึกเพื่อพร้อมขายในตลาดเช้า หรือรับปลาช่วงบ่ายเพื่อพร้อมขายช่วงเย็น มีกลุ่มลูกค้าหลัก 2 กลุ่ม คือ ผู้ซื้อประจำได้แก่ ร้านอาหาร ภัตตาคาร โรงแรม และลูกค้าทั่วไป เมื่อรับคำสั่งซื้อผู้ค้าปลีกจะสั่งซื้อปลาจาก ผู้ค้าคนกลาง ซึ่งเป็นผู้ประสานงานกับผู้ค้าปากบ่อหรือเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาให้งดอาหารปลา และจัดคิวส่งปลาโดยรถขนส่งในสังกัด ผู้ค้าปลีกปลาสดจะขายปลาตามราคาอ้างอิงจากตลาดรายวัน ซึ่งขึ้นอยู่กับปริมาณปลาที เข้าสู่ตลาด และความต้องการของผู้บริโภคแต่ละวัน และตามคุณภาพปลา เช่น ความสด สี และขนาดปลา 5. ผู้แปรรูป การแปรรูปผลิตภัณฑ์ปลาน้ำจืดเป็นภูมิปัญญาพื้นบ้านของประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อให้สามารถเก็บรักษาอาหารได้ยาวนาน และเป็นการเพิ่มมูลค่าให้ปลาน้ำจืด เช่น ปลาร้า ปลาแดดเดียว ไส้กรอกปลา เป็นต้น ผู้แปรรูปผลิตภัณฑ์ปลาน้ำจืดด่าเนินธุรกิจทั้งในรูปธุรกิจส่วนตัวและกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ส่วนใหญ่เป็นกิจการขนาดเล็กและชนาดกลาง 6. ผู้ส่งออก ปัจจุบันมีการส่งออกปลาน้ำจืดในลักษณะปลามีชีวิต แช่เย็น แช่แข็ง ทั้งแบบเป็นตัว และแล่เนื้อรวมทั้ง ตากแห้ง รมควัน และปลาป่น ประเทศที นำเข้าได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และตะวันออกกลาง นอกจากนี้เกษตรกรไทยได้ส่งออกลูกปลาไปประเทศเพื่อนบ้านด้วย โดยเฉพาะประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ผู้เกี่ยวข้องในห่วงโซ่อุปทานมีความเชื่อมโยงกัน และมีความสำคัญต่อการพัฒนาการผลิตและการตลาดปลาน้ำจืดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาซึ่งเป็นผู้ผลิตสินค้าขั้นพื้นฐาน จึงควรส่งเสริมให้เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาได้พัฒนาศักยภาพการผลิตและการตลาด โดยการสร้างเครือข่ายและรวมกลุ่มเกษตรกร เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ข้อมูลข่าวสาร ด้านการผลิตและการตลาด และร่วมกันหาแนวทาง ในการลดต้นทุนการผลิต และขยายช่องทางการตลาด ตลอดจนเพิ่มอำนาจการต่อรองให้เกษตรกรผู้เลี้ยงปลา

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อผลิตปลากะพงขาวอินทรีย์ จำนวน 5,000 กิโลกรัม โดยชุมชนใน อำเภอแม่แตง อำเภอแม่วางและอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ โดยเทคนิค การเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่ที่จำกัด (Land-Base Aquaculture) ร่วมกับการควบคุมคุณภาพน้ำด้วยระบบหมุนเวียน (Recirculation Aquaculture System) ภายใต้โดมความร้อน (Green House)
เพื่อสร้างจุดสาธิตการเลี้ยงสัตว์น้ำแบบอินทรีย์ 4 จุด คือ จุดสาธิตการเลี้ยงปลากะพงขาว 2 จุด จุดสาธิตการแปรรูปปลากะพงขาว 2 จุด
จัดการฝึกอบรมเกษตรกรการเลี้ยงสัตว์น้ำแบบอินทรีย์จำนวน 200 คน และขอขึ้นทะเบียนผู้ผลิตสัตว์น้ำ 10 ราย
เพื่อแปรรูปและสร้างผลิตภัณฑ์ปลากะพงขาว 2 ผลิตภัณฑ์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การพัฒนาศักยภาพของวิสาหกิจชุมชนเพื่อผลิตและแปรรูปสัตว์น้ำแบบอินทรีย์ สู่ระบบอุตสาหกรรมประมงอินทรีย์ ในจังหวัดเชียงใหม่
KPI 1 : สร้างผลิตภัณฑ์อินทรีย์จากปลากะพงขาว 5,000 กิโลกรัม โดย เทคนิคการเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่ที่จำกัด (Land-Base Aquaculture) ร่วมกับการควบคุมคุณภาพน้ำด้วยระบบหมุนเวียน (Recirculation Aquaculture System) ภายใต้โดมความร้อน (Green House)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิโลกรัม 5000
ผลผลิต : เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปลากะพงขาวจากบ่อดินและศูนย์เรียนรู้ฯ ซึ่งมีด้วยกัน 4 จุด คือ จุดสาธิตการเลี้ยงปลากะพงขาว 2 จุด จุดสาธิตการแปรรูปปลากะพงขาว 2 จุด
KPI 1 : เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปลากะพงขาวจากบ่อดินและศูนย์เรียนรู้ฯ ซึ่งมีด้วยกัน 4 จุด คือ จุดสาธิตการเลี้ยงปลากะพงขาว 2 จุด จุดสาธิตการแปรรูปปลากะพงขาว 2 จุด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 จุด 4
ผลผลิต : จัดฝึกอบรม
KPI 1 : จำนวนผู้รับบริการจัดฝึกอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 200
KPI 2 : จำนวนผู้รับบริการยื่นขอใบรับรองมาตรฐานฟาร์ม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 10
ผลผลิต : สร้างผลิตภัณฑ์จากการแปรรูปปลา
KPI 1 : ร้อยละของโครงการการบริการวิชาการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : สร้างผลิตภัณฑ์จากการแปรรูปปลากะพงขาว
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ผลิตภัณฑ์ 2
KPI 3 : ชุมชน อำเภอแม่แตง อำเภอแม่วาง และอำเภอ สารภี จังหวัดเชียงใหม่มีความรู้เพิ่มขึ้นในกิจกรรมและต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่า และมีอาหารที่ปลอดภัยบริโภค
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การพัฒนาศักยภาพของวิสาหกิจชุมชนเพื่อผลิตและแปรรูปสัตว์น้ำแบบอินทรีย์ สู่ระบบอุตสาหกรรมประมงอินทรีย์ ในจังหวัดเชียงใหม่
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 : การพัฒนาศักยภาพของวิสาหกิจชุมชนเพื่อผลิตและแปรรูปสัตว์น้ำแบบอินทรีย์ สู่ระบบอุตสาหกรรมประมงอินทรีย์ ในจังหวัดเชียงใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนปฏิบัติงานในฟาร์ม (ระดับปริญญาโท)
จำนวน ค่าจ้างบริการสนับสนุนปฏิบัติงานในฟาร์ม ในพื้นที่อำเภอแม่วาง (ระดับปริญญาโท) 9 เดือนๆ ละ 18,000 บาท จำนวน 1 คน เป็นเงิน 162,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 162,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนปฏิบัติงานในฟาร์ม (ระดับปริญญาตรี)
จำนวน ค่าจ้างบริการปฏิบัติสนับสนุนงานในฟาร์มในพื้นที่อำเภอแม่วาง (ระดับปริญญาตรี) 9 เดือนๆ ละ 15,000 บาท จำนวน 1 คน เป็นเงิน 135,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
วัตถุดิบทำอาหารปลา, อาหารปลา, ปลาป่น, กากถั่วเหลือง และรำละเอียด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 740,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์
ออกซิเจน, เคมีภัณฑ์, แอลกอฮอล์ และน้ำยาต่างๆ เพื่อใช้ในการตรวจสอบคุณภาพน้ำทั้ง 4 จุด และวิเคราะห์โภชนศาสตร์อาหารสัตว์น้ำของโครงการ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 390,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
กระดาษถ่ายเอกสาร, ปากกา, แฟ้ม และค่าถ่ายเอกสาร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 170,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์
1)หมึก อิงเจ็ต สีดำ เป็นเงิน 30,500 บาท
2)หมึก อิงเจ็ต สี เป็นเงิน 25,000 บาท
3)หมึกเลเซอร์ เป็นเงิน 35,000 บาท
4)แผ่น ซีดี-อาร์ เป็นเงิน 7,000 บาท
5)ซองใส่แผ่น ซีดี-อาร์ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 100,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้าง
ดิน, หิน, กรวด, ทราย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว
มีด, ถ้วยชาม, ช้อนส้อม, ไม้กวาด และถาด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 121,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุไฟฟ้า
สายไฟฟ้า, ปลั๊กไฟฟ้า, สวิตช์ไฟฟ้า และหลอดไฟฟ้า
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1919800.00
ผลผลิต : เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปลากะพงขาวจากบ่อดินและศูนย์เรียนรู้ฯ ซึ่งมีด้วยกัน 4 จุด คือ จุดสาธิตการเลี้ยงปลากะพงขาว 2 จุด จุดสาธิตการแปรรูปปลากะพงขาว 2 จุด
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 : เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปลากะพงขาวจากบ่อดินและศูนย์เรียนรู้ฯ ซึ่งมีด้วยกัน 4 จุด คือ จุดสาธิตการเลี้ยงปลากะพงขาว 2 จุด จุดสาธิตการแปรรูปปลากะพงขาว 2 จุด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนปฏิบัติงานในฟาร์ม (ระดับปริญญาโท)
จำนวน ค่าจ้างบริการสนับสนุนปฏิบัติงานในฟาร์มในพื้นที่อำเภอแม่แตง (ระดับปริญญาโท) 9 เดือนๆ ละ 18,000 บาท จำนวน 1 คน เป็นเงิน 162,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 162,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนปฏิบัติงานในฟาร์ม (ระดับปริญญาตรี)
จำนวน ค่าจ้างบริการสนับสนุนปฏิบัติงานในฟาร์มในพื้นที่อำเภอสารภี (ระดับปริญญาตรี) 9 เดือนๆ ละ 15,000 บาท จำนวน 1 คน เป็นเงิน 135,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
วัตถุดิบทำอาหารปลา, อาหารปลา, ปลาป่น, กากถั่วเหลือง และรำละเอียด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 754,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์
ออกซิเจน, เคมีภัณฑ์, แอลกอฮอล์ และน้ำยาต่างๆ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 235,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
กระดาษถ่ายเอกสาร, ปากกา, แฟ้ม และค่าถ่ายเอกสาร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 80,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์
1)หมึก อิงเจ็ต สีดำ เป็นเงิน 15,400 บาท
2)หมึก อิงเจ็ต สี เป็นเงิน 13,000 บาท
3)หมึกเลเซอร์ เป็นเงิน 16,200 บาท
4)แผ่น ซีดี-อาร์ เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 41,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว
มีด, ถ้วยชาม, ช้อนส้อม, ไม้กวาด และถาด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 100,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1508000.00
ผลผลิต : จัดฝึกอบรม
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 : จัดฝึกอบรม จำนวน 4 ครั้ง เรื่องการพัฒนาศักยภาพของวิสาหกิจชุมชนเพื่อผลิตและแปรรูปสัตว์น้ำแบบอินทรีย์สู่ระบบอุตสาหกรรมประมงอินทรีย์ในจังหวัดเชียงใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน
จำนวน ค่าอาหารกลางวันสำหรับวิทยากร เจ้าหน้าที่ และผู้เข้าอบรม (1 วัน ต่อ 1 รุ่น ๆ ละ 60 คน) จำนวน 4 รุ่น ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 24,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (1 วัน ต่อ 1 รุ่น ๆ ละ 60 คน) จำนวน 4 รุ่น ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 14,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรภาครัฐฝึกอบรมภาคบรรยาย จำนวน 4 วัน ๆ ละ 2 ชม. ๆ ละ 600 บาท จำนวน 1 คน เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรที่ไม่ใช่บุคคลภาครัฐฝึกอบรมภาคบรรยาย จำนวน 4 วัน ๆ ละ 2 ชม. ๆ ละ 1,200 บาท จำนวน 2 คน เป็นเงิน 19,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 19,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรฝึกอบรมภาคปฏิบัติ จำนวน 4 วัน ๆ ละ 2 ชม. ๆ ละ 300 บาท จำนวน 2 คน เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร วัตถุดิบทำอาหารปลา, อาหารปลา, ปลาป่น, กากถั่วเหลือง และรำละเอียด เป็นเงิน 100,000 บาท เพื่อใช้เป็นวัสดุสาธิตในการจัดอบรม จำนวน 4 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 100,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์
ชุดวัดคุณภาพน้ำเพื่อใช้ในการสาธิตในการจัดอบรม จำนวน 4 ครั้งเป็นเงิน 80,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 80,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานครัว
กล่องพลาสติกมีฝา,ถังขนาดใหญ่มีฝา,ถาดใส่ของ,ถุงลามิเนตขนาดใหญ่,ถุงลามิเนตขนาดเล็ก,กะละมังขนาดใหญ่และมีดขนาดต่างๆ เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
กระดาษถ่ายเอกสาร, ดินสอ, ปากกา, แฟ้ม กระดาษหน้าปกสี A4, เทปกาวและค่าถ่ายเอกสาร ในการจัดฝึกอบรมเพื่อใช้เป็นเอกสารคู่มืออบรม เป็นเงิน 100,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 100,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 367200.00
ผลผลิต : สร้างผลิตภัณฑ์จากการแปรรูปปลา
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 4 : สร้างผลิตภัณฑ์จากการแปรรูปปลา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนปฏิบัติงานในฟาร์ม (ระดับปริญญาโท)
ค่าจ้างบริการสนับสนุนปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ (ระดับปริญญาโท) 9 เดือน จำนวน 1 คน เดือนละ 18,000 บาท เป็นเงิน 162,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 162,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนปฏิบัติงานในฟาร์ม (ระดับปริญญาตรี)
ค่าจ้างบริการสนับสนุนปฏิบัติงานในฟาร์มในพื้นที่สารภี (ระดับปริญญาตรี) 9 เดือนๆ ละ 15,000 บาท จำนวน 1 คน เป็นเงิน 135,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
วัตถุดิบทำอาหารปลา, อาหารปลา, ปลาป่น, กากถั่วเหลือง และรำละเอียด เป็นเงิน 348,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 348,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
กระดาษถ่ายเอกสาร, ปากกา, เครื่องตีราคา, ลวดเย็บกระดาษ, เครื่องเย็บกระดาษ, มีดคัตเตอร์ แผ่นยางรองตัด และค่าถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 35,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์
1)หมึก อิงเจ็ต สีดำ เป็นเงิน 10,000 บาท
2)หมึก อิงเจ็ต สี เป็นเงิน 15,000 บาท
3)หมึกเลเซอร์ เป็นเงิน 6,000 บาท
4)แผ่น ซีดี-อาร์ เป็นเงิน 2,600 บาท
5)ซองใส่ซีดี เป็นเงิน 400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว มีด, ถ้วยชาม, ช้อนส้อม, ไม้กวาด, กรรไกร, ถุงลามิเนตขนาดใหญ่,ถุงลามิเนตขนาดเล็ก,กะละมังขนาดใหญ่ และถาด เป็นเงิน 290,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 290,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1005000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การสร้างอาจเกิดความล่าช้าและอาจเกิดข้อผิดพลาด อาจส่งผลกระทบต่อการที่จะเลี้ยงปลากะพงขาวโดยระบบอินทรีย์
การประสานงานในการตั้งศูนย์ฝึกอบรม
การเสนอยื่นใบรับรองมาตรฐานฟาร์ม อาจมีความล่าช้า แล้วต้องทำความเข้าใจในการรักษามาตรฐานฟาร์มให้กับแหล่งชุมชนนั้นๆ
การแปรรูปผลิตภัณฑ์ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญ และต้องใช้ระยะเวลาในการแปรรูป ซึ่งต้องคำนึงถึงองค์ประกอบในหลายๆส่วน
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ทำการประชุมประสานงาน เพื่อให้เกิดความเข้าใจกันทั้ง 2 ฝ่าย
สร้างความเข้าใจในการประสานงาน ทำให้คนในชุมชุนเข้าใจในสิ่งที่จะได้รับ
มีการประชุมและการจัดการที่ดี ในการประสานงาน เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน และสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน
มีการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญในด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ปลา เพื่อลดระยะเวลาและก่อให้เกิดความเข้าใจ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล