12210 : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์เพื่อการขยายผลการสร้างต้นแบบการใช้พลังงานหมุนเวียน ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางเพ็ญศิริ หน่อแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 31/1/2561 15:49:48
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/10/2560  ถึง  30/09/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  คณะครูนักเรียนโรงเรียนบ้านศรีบุญเรือง จำนวน 80 คน อาจารย์และนักศึกษาจาก ม.แม่โจ้จำนวน ๒๐ คน พื้นที่ดำเนินโครงการ โรงเรียนบ้านศรีบุญเรือง ตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน วิทยาลัยพลังงานทดแทน หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ 2561 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รจพรรณ  นิรัญศิลป์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐวุฒิ  ดุษฎี
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนเข้มแข็งตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง
เป้าประสงค์ 4.1 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 4.1.1 ระดั 4.1.1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาชุมชนเป้าหมาย
กลยุทธ์ 4.1.1.1 พัฒนาการให้บริการวิชาการเพื่อมุ่งพัฒนาและเป็นที่พึ่งของชุมชนและสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การดำเนินงานด้านพลังงานทดแทนหรือพลังงานหมุนเวียนในแต่ประเทศและทุกภูมิภาค นับเป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจและให้ความสำคัญในปัจจุบัน เนื่องด้วยสภาวะที่โลกกำลังประสบปัญหาภาวะความต้องการพลังงานที่สูงในขณะที่แหล่งพลังงานหลักอย่างฟอสซิลเริ่มมีปริมาณลดลงอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการตระหนักในเรื่องของสิ่งแวดล้อมที่ได้รับผลกระทบจากการใช้พลังงานกลุ่มฟอสซิล และประเทศไทยมีการดำเนินงานด้านพลังงานทดแทนมาอย่างต่อเนื่อง ภายใต้แนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิทราธิเบศรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙ โดยพลังงานทดแทนรูปแบบหนึ่งที่ได้รับความสนใจเนื่องจากสามารถประยุกต์ใช้ได้ในชุมชนอย่างแท้จริงคือ พลังงานก๊าซชีวภาพ ที่สามารถสร้างพลังงานทดแทนได้จากทั้งของเหลือทิ้ง เศษอาหาร ขยะอินทรีย์หรือมูลสัตว์ ซี่งนอกจากจะเป็นการเพิ่มมูลค่าแล้ว การดำเนินการด้านพลังงานทดแทนยังเป็นการดำเนินวิถึตามแนวของเศรษฐกิจพอเพียง ที่ทำให้มนุษย์สามารถสร้างพลังงานได้ด้วยตนเองจากสิ่งรอบตัว ลดการนำเช้าหรือซื้อเชื้อเพลิง ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ที่ผ่านมามหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้ให้การสนับสนุนงบประมาณด้านการประยุกต์ใช้การสร้างนวัตกรรมด้านพลังงานทดแทนระบบก๊าซชีวภาพทั้งภายในมหาวิทยาลัยและการบริการวิชาการพื้นที่โดยรอบมหาวิทยาลัย โดยปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้ให้งบประมาณสนับสนุน การสร้างต้นแบบด้านก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์แก่ อาจารย์ ดร.รจพรรณ นิรัญศิลป์ เป็นจำนวนเงิน ๕๐,๐๐๐ บาท เพื่อเป็นแนวทางการใช้งานระบบก๊าซชีวภาพจากเศษขยะอินทรีย์ในมหาวิทยาลัย ด้วยระบบก๊าซชีวภาพขนาด ๒,๐๐๐ ลิตร และพบว่าสามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้ดีและพร้อมจะขยายผลเป็นระบบที่สามารถรองรับปริมาณขยะจากโรงอาหารมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และอีกส่วนหนึ่งคือการขยายผลจากงานวิจัยดังกล่าวไปสร้างเป็นต้นแบบการใช้พลังงานก๊าซชีวภาพแก่โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาที่อยู่โดยรอบมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้แก่โรงเรียนบ้านต้นผึ้ง ต.เหมืองแก้ว อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ซึ่งเป็นโรงเรียนที่มีการดำเนินการด้านระบบก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ภายในโรงเรียนมากว่า ๕ ปี แต่พบข้อจำกัดเรื่องขนาดถังหมักซึ่งไม่สามารถรองรับปริมาณเศษขยะอินทรีย์ได้(ถังหมักมีขนาด 200ลิตร)และมีปัญหาด้านอุปกรณ์ที่เสื่อมสภาพ โดยในปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๐ มหาวิทยาแม่โจ้ได้สนับสนุนการดำเนินงานดังกล่าวผ่านโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์เพื่อสร้างต้นแบบการใช้พลังงานหมุนเวียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ณ. โรงเรียนบ้านต้นผึ้ง งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท โดยมีอาจารย์ ดร.รจพรรณ นิรัญศิลป์ เป็นผู้รับผิดชอบโครงการ ซึ่งทำให้โรงเรียนได้รับประโยชน์อย่างแท้จริงทราบถึงแนวทางการดำเนินการด้านพลังงานทดแทนที่ยั่งยืนและมีการติดตั้งพร้อมใช้งานระบบก๊าซชีวภาพขนาด ๒,๐๐๐ ลิตรตามที่ผู้รับผิดชอบโครงการได้มุ่งหวังไว้ ทั้งนี้การที่จะสร้างต้นแบบการใช้พลังงานหมุนเวียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาให้ประสบความสำเร็จได้นั้น จำเป็นต้องมีการขยายผลการสร้างต้นแบบไปในพื้นที่อื่นของจังหวัดเชียงใหม่ โดยเริ่มจากอำเภอละหนึ่งโรงเรียนเพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในการดำเนินงานทั้งนี้ จากการสำรวจพื้นที่โดยรอบของมหาวิทยาลัยแม่โจ้พบว่า มีโรงเรียนที่ให้ความสำคัญด้านการพึ่งพาตนเอง ดำเนินงานภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาโดยตลอด คือ โรงเรียนบ้านศรีบุญเรืองในเขตพื้นที่ ต.ป่าไผ่ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ และมีความสนใจด้านการนำพลังงานทดแทนไปใช้ในสถานศึกษาเพื่อทำให้แนวคิดการพึ่งพาตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงเป็นไปอย่างมีสมบูรณ์และลดภาระค่าใช้จ่ายในการใช้พลังงานในโรงเรียน โดยที่ผ่านมาโรงเรียนมีการดำเนินงานทั้งในส่วนการเลี้ยงหมูหลุม การเลี้ยงไก่ การปลูกผัก เพื่อสร้างรายได้เพิ่มเติมในการดูแลนักเรียนจำนวน ๑๕๐ คน ซึ่งหากโรงเรียนศรีบุญเรืองได้รับการสนับสนุนการใช้พลังงานทดแทน ด้านก๊าซชีวภาพคาดว่าจะทำให้การขยายผลการสร้างต้นแบบเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และจะสามารถสร้างต้นแบบการใช้พลังงานหมุนเวียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถสร้างเครือข่ายในระบบภาคเหนือและประเทศชาติต่อไปได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อขยายผลการสร้างต้นแบบการใช้พลังงานหมุนเวียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา
เพื่อสร้างจิตสำนึกทางด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมแก่เยาวชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : สื่อประกอบการอบรม
KPI 1 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับการบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
ผลผลิต : การถ่ายทอดเทคโนโลยี
KPI 1 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 100
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 5 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ล้านบาท 0.1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : สื่อประกอบการอบรม
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการจัดทำสื่อการสอนเพื่อประกอบการเรียนรู้ระบบก๊าซชีวภาพในโรงเรียน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รจพรรณ  นิรัญศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน ๒๐๐ บาท ๕ คน จำนวน ๓วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุไฟฟ้า ได้แก่ สายไฟ ท่อเดินสายไฟ สวิตช์ เทปกาวพันสายไฟ จำนวน 19,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 19,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้าง ได้แก่ อิฐหิน ปูน น๊อต สกรู วาลว์ ข้อต่อ ข้อลด ซิลิโคน จำนวน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 42000.00
ผลผลิต : การถ่ายทอดเทคโนโลยี
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการรับฟังการบรรยายและการลงมือปฏิบัติจริง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รจพรรณ  นิรัญศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๑๐๐ คน x ๒๐๐บาท ๑ มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 1๐0 คน x 3๕ บาท x 2 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสาร ประกอบการอบรม จำนวน 100 เล่ม ๆ ละ 70 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจัดทำเล่มรายงานผลการดำเนินงาน จำนวน 3 เล่ม ๆ ละ 400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ (วิทยากร) ค่าเครื่องบินเชียงใหม่-กรุงเทพ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน ๒๐๐ บาท จำนวน ๒๐ คน จำนวน ๒ วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่เป็นบุคลากรของรัฐ) บรรยาย ( 2 ชม ๆ ละ 600 บาท X ๑ คน)
บรรยาย (๑ ชม.ละ 600 X ๑ คน) ปฏิบัติ (๒ ชม ๆ ละ 300 บาท )
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน ได้แก่ กระดาษ A4 ปากกา แฟ้มหนีบ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 58000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล