12234 : โครงการสร้างความร่วมมือในการพัฒนาเรือใบโบราณซึ่งเป็นภาพลักษณ์ของอำเภอละแม
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจมาศ ณ ทองแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 20/3/2562 15:22:03
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2560  ถึง  30/09/2561
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  กลุ่มเป้าหมาย จำนวน40 คน ประกอบด้วยบุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร สมาชิกชมรมรักษ์เรือใบโบราณ หน่วยงานภาครัฐอำเภอละแมและ นักท่องเที่ยวหรือผู้สนใจ พื้นที่ดำเนินโครงการ อำเภอละแม จังหวัดชุมพร
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบโครงการบริการวิชาการ 2561 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เบญจมาศ  ณ ทองแก้ว
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.เป็นศูนย์บริการวิชาการที่มีความเป็นเลิศด้านสหวิทยาการเกษตรเพื่อการพึ่งพาตนเอง
เป้าประสงค์ 1.การพัฒนาศูนย์บริการสหวิทยาการเกษตร
ตัวชี้วัด 1 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อโครงการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 1.บูรณาการงานวิจัยและบริการวิชาการให้สอดคล้องกับความต้องการของภูมิภาค
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ด้วย ปีพ.ศ. 2543 ชมรมรักษ์เรือใบโบราณละแม จัดกิจกรรมแข่งขันเรือใบโบราณที่ใช้พลังงานทดแทนลมเป็น ภายในเขตพื้นที่อ่าวละแม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร ส่งผลให้คนในชุมชนเกิดความภาคภูมิใจในวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของตน และสามารถพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้และปฏิบัติการให้แก่เยาวชน นักศึกษาและประชาชนทั่วไปจนกลายเป็นประเพณีประจำปีในงานเปิดโลกทะเลของอำเภอละแม จังหวัดชุมพรที่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย นั้น ชมรมรักษ์เรือใบโบราณละแมเป็นหนึ่งในชุมชนสมาชิกสมาคมการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดชุมพรมีการกำหนดรูปแบบการจัดตั้งองค์กรชุมชนที่เหมาะสมในการอนุรักษ์และฟื้นฟูเรือใบโบราณบริเวณเขตพื้นที่อ่าวละแม โดยนำแนวคิดทางวิชาการมาปรับใช้เพื่อเป็นเครื่องมือในการสร้างปฏิบัติการร่วมของสมาชิกชมรมฯ เพื่อจัดตั้งองค์กรชุมชนในการอนุรักษ์และฟื้นฟูเรือใบพื้นบ้าน บริเวณเขตพื้นที่อ่าวในนาม“ชมรมรักษ์เรือใบโบราณละแม”ตั้งอยู่ที่ 99 หมู่ที่ 5 ตำบลละแม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร 86170โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเครื่องมือให้ประชาชนภายในท้องถิ่นดำเนินกิจกรรมด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล วิถีชีวิตวัฒนธรรมท้องถิ่น และการรณรงค์การใช้พลังงานทดแทน รวมทั้งเพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวและการกีฬาดำเนินงานภายใต้โครงสร้างการทำงาน ซึ่งเป็นสมาชิกชมรมฯ ตามบทบาทหน้าที่ วาระการทำงานที่ร่วมกำหนดขึ้น โดยมี มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรเป็นองค์กรที่ปรึกษาส่งผลให้ที่ผ่านชมรมได้เข้าร่วมจัดกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ 1) กิจกรรมเปิดโลกทะเลละแมสนับสนุนโดยองค์การบริหารส่วนตำบลละแม 2) จัดตั้งศูนย์ประชาสัมพันธ์และถ่ายทอดข้อมูลด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และข้อมูลด้านวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นประเภทเรือใบโบราณโดยใช้พื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เป็นที่ตั้ง “ชมรมรักษ์เรือโบโบราณละแม” 3) ได้รับการเผยแพร่ข้อมูลผ่านคู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดชุมพร “ชุมชนวิถีพอเพียง ชุมพร” จัดพิมพ์โดย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานจังหวัดชุมพรนอกจากนี้มีการกำหนดโครงข่ายการท่องเที่ยวโดยให้ชมรมรักษ์เรือใบโบราณละแม เป็นศูนย์กลางการเดินทางทั้งนี้จากการประชุมสมาชิกชมรมรักษ์เรือใบโบราณละแม ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2559 โดยคณะกรรมการชมรมฯมีมติให้ปฎิบัติการขับเคลื่อนชมรมรักษ์เรือใบโบราณละแมร่วมกับคณาจารย์มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรและสมาคมการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร ตามแนวทางดังนี้ 1) พัฒนาองค์กรให้เข้มแข็ง พร้อมทั้งกระตุ้นสมาชิกคำนึงเรื่องการอนุรักษ์วิถีวัฒนธรรมและทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 2) ส่งเสริมการแล่นเรือใบประชาสัมพันธ์การใช้พลังงานทดแทนภายในชุมชนสมาชิกสมาคมฯ 4) ดำเนินการแข่งขันในงานโลกทะเลละแมในทุกปี และกระตุ้นให้เกิดการกิจกรรมสาธารณะอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 5) พัฒนาระบบโครงข่ายการท่องเที่ยวโดยให้ชมรมรักษ์เรือใบละแมเป็นศูนย์กลางและเชื่อมโยงกับที่พักภายในอำเภอละแม พร้อมทั้งตกลงผลประโยชน์ร่วมให้มีความชัดเชน โปร่งใสและเป็นธรรม ดังนั้น เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการบริหารจัดการในการอนุรักษ์และฟื้นฟูเรือใบพื้โบราณอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาองค์ความรู้และต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์เชิงพาณิชย์ผ่านกิจกรรมการท่องเที่ยว และกิจกรรมสาธารณะ ควบคู่กับการกระตุ้นเศรษฐกิจระดับท้องถิ่นโดยการสร้างงาน สร้างรายได้ และส่งเสริมการจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ของประชาชนในชุมชนท้องถิ่นอย่างเป็นระบบครบวงจร จึงมีเป้าหมายที่จะขับเคลื่อนกิจกรรมเรือใบโบราณโดยผ่านการสนับสนุนจากทุกภาคส่วน ในการสนับสนุนกิจกรรมเรือใบโบราณให้มีความต่อเนื่องและสามารถพัฒนาเป็นกิจกรรมท่องเที่ยวที่ยั่งยืนของอำเภอละแม จังหวัดชุมพร

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อกระตุ้นประชาสัมพันธ์ และถ่ายทอดข้อมูลด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ข้อมูลวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นประเภทเรือใบโบราณ
2. เพื่อสนับสนุนกิจกรรมแข่งขันเรือใบโบราณละแม ในงานเปิดโลกทะเลอำเภอละแม จังหวัดชุมพร
3. เพื่อสร้างเครือข่ายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน สร้างแนวทางการอนุรักษ์และฟื้นฟูเรือใบพื้นบ้านภายในอำเภอละแม จังหวัดชุมพร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลผลิต:กิจกรรมการแข่งขันเรือใบ โบราณกลายเป็นภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวของอำเภอละแม
KPI 1 : -ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : -ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 100
KPI 3 : -จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 40
KPI 4 : -ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 100
KPI 5 : -ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 6 : -ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ล้านบาท 0.05
KPI 7 : -ร้อยละของผู้เข้ารับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับการบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลผลิต:กิจกรรมการแข่งขันเรือใบ โบราณกลายเป็นภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวของอำเภอละแม
ชื่อกิจกรรม :
- กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับหน่วยงานและองค์กรที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ผลักดันให้เกิดการสนับสนุนการอนุรักษ์และฟื้นฟูเรือใบโบราณ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจมาศ  ณ ทองแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 40 คน ๆละ 4 มื้อ ๆละ 100 บาท เป็นเงิน 16,000 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คน ๆละ 8 มื้อ ๆละ 35 บาท เป็นเงิน 11,200 บาท
-ค่าจัดทำเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 40 ชุด ๆละ 70 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท
-ค่าจ้างเหมาจัดทำสติ๊กเกอร์เรือใบโบราณ จำนวน 20 แผ่น ๆละ 300 บาท (ขนาด2*3เมตร) เป็นเงิน 6,000 บาท
-ค่าจ้างเหมาจัดสถานที่แข่งเรือใบโบราณ เป็นเงิน 13,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 49,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
-ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา สมุด แฟ้ม ฯลฯ เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1.ฤดูกาลที่ไม่แน่นอน
2.ความร่วมมือในการหนุนเสริมจากหน่วยงานภาครัฐ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1.ปรับเปลี่ยนกิจกรรมตามความเหมาะสม
2.ผลักดันให้เห็นความสำคัญในระดับนโยบาย
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ผศ.เบญจมาศ 61 ย002
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล