12268 : โครงการการยกระดับการผลิตสตรอเบอรี่ตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
น.ส.ปรัชวัน อ่อนคง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 12/2/2561 11:20:49
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2560  ถึง  30/09/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  206  คน
รายละเอียด  แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและเกษตรกรผู้ผลิตสตรอเบอรีอินทรีย์ในพื้นที่อำเภอสะเมิงและอำเภอแม่แจ่ม , เกษตรกรในพื้นที่ บ.ป่าเกี๊ยนอก และบ้านห้วยขมิ้น ต.แม่นาจร อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ ประกอบไปด้วย นายธานิทร์ การมั่งมี , นายองอาจ วงศ์โชติอภิญญา , นายนพรัตน์ โชคสิริสมบัติ , นายมนตรี พิมพันธ์ , นายปรีดา ยิ่งสินสัมพันธ์ , นายธีราทร ศิลปะพงไพร จำนวน 6 คน ผู้เข้าร่วมอบรมการผลิตสตรอเบอรีอินทรีย์ จำนวน 120 คน ผู้เข้าร่วมอบรมฝึกอบรมการสร้างความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชน 20 คน ผู้เข้าร่วมอบรมการแปรรูปผลผลิตสตรอเบอรี่อินทรีย์ 40 คน ผู้เข้าร่วมอบรมการส่งเสริมการแปรรูป 20 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารอินทรีย์จังหวัดเชียงใหม่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 2561 1,252,780.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปรีดา  นาเทเวศน์
อาจารย์ ดร. สุชาดา  สายทิ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สตรอเบอร์รีเป็นไม้ผลขนาดเล็กที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของเกษตรกรในเขตภาคเหนือของประเทศไทย เนื่องจากเป็นผลไม้ที่มีความต้องการของผู้บริโภคที่สูง ราคาดีและให้ผลตอบแทนสูง จากข้อมูลพื้นที่การปลูกและผลตอบแทนจากสตรอเบอร์รี พบว่าประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกสตรอเบอร์รี่รวมกันทั่วประมาณ 4,000-5,000 ไร่ มีเกษตรกรผู้ปลูกสตรอเบอร์รี่จำนวนประมาณ 2,000 ราย โดยแบ่งเกษตรกรออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ เกษตรกรผู้ปลูกภายใต้การส่งเสริมของมูลนิธิโครงการหลวง ที่มีเกษตรกรประมาณ 90 คน มีพื้นที่ปลูกที่ประมาณ 100 ไร่ เฉพาะในปี 2552 มีผลผลิตรวม 66,802 กิโลกรัม มูลค่ารวม 8,209,503 บาท โดยผลผลิตส่วนใหญ่จำหน่ายในรูปผลสดให้กับมูลนิธิโครงการหลวง (มูลนิธิโครงการหลวง, 2552) และกลุ่มที่สองคือ เกษตรกรผู้ปลูกที่อยู่ภายนอกโครงการส่งเสริมของมูลนิธิโครงการหลวง ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นเกษตรกร มีจำนวนประมาณ 1,000 ราย มีพื้นที่ปลูกประมาณ 3,000 ไร่ โดยอยู่ในพื้นที่ ต.บ่อแก้ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ประมาณ 2,000 ไร่ ซึ่งเป็นพื้นที่ผลิตสตรอเบอร์รี่ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศมีเกษตรกรที่ปลูกสตรอเบอร์รี่ มีจำนวนเกษตรกรประมาณ 500 ราย องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อแก้ว อ.สะเมิง ในปีการผลิต 2558/2559 มีพื้นที่ปลูกทั้งสิ้นจำนวน 3,540 ไร่ ส่วนปริมาณผลผลิตที่ออกสู่ตลาดของจังหวัดเชียงใหม่มีทั้งสิ้นประมาณ 13,385 ตัน คิดเป็นมูลค่าทั้งสิ้นประมาณ 1,100 ล้านบาท ขณะนี้มีการเก็บเกี่ยวไปแล้วประมาณ 3,501 ไร่ ปริมาณผลผลิตทั้งสิ้นประมาณ 8,615 ตัน สำหรับปริมาณผลผลิตในปีนี้ลดลงจากปีที่ผ่านมาเนื่องจากสภาพอากาศแปรปรวน และราคาลดลงด้วย (องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อแก้ว, 2558) นอกจากนี้แล้วยังมีพื้นที่อื่น ๆ ที่สามารถปลูกสตรอเบอร์รี่ได้ เช่น อ.แม่ริม และอ.ฝาง ของจังหวัดเชียงใหม่ อ.นาแห้ว และ อ.ภูเรือ จังหวัดเลย อ.เขาค้อ และ อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ และบางพื้นที่ของ จ.กาญจนบุรี ในปัจจุบันพื้นที่ที่การทำการปลูกสตรอเบอรีในประเทศไทยส่วนใหญ่ได้มีการนำวิทยาการที่ทันสมัยด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านสารป้องกันกำจัดโรคแมลง และวัชพืชรวมไปถึงการใช้ปุ๋ยเคมีเข้ามาเกี่ยวข้องในกระบวนการผลิตหลายขั้นตอน เริ่มตั้งแต่การเตรียมดินปลูกที่มีการเผาตอซังข้าว เศษซากพืชในแปลง ใส่ปุ๋ยเคมีรองพื้น การปลูกและการดูแลรักษาที่มีการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชชนิดต่างในปริมาณที่มากเกินความจำเป็นจนก่อให้เกิดการตกค้างของสารเคมีในธรรมชาติ รวมไปจนถึงการเก็บรักษาผลผลิตที่มีการใช้สารบางชนิดช่วยในการยืดอายุการเก็บรักษาเพื่อการจำหน่าย ในปี พ.ศ.2555 ข้อมูลจาก กรมวิชาการเกษตร, สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ประเทศไทยนำเข้าสารเคมีประเภท สารป้องกันกำจัดวัชพืช สารกำจัดแมลง สารป้องกันและกำจัดโรคพืช ปริมาณรวม 134,480 ตัน คิดเป็นมูลค่า 70,156 ล้านบาท และในปริมาณรวมทั้งมูลค่าที่กล่าวมานี้มีการนำเข้าสารชีวภาพเพียง 103 ตัน และคิดเป็นมูลค่าประมาณ 21 ล้านบาท และมีการประมาณการใช้สารเคมีทั้งกลุ่มปุ๋ยเคมี ฮอร์โมน สารป้องกันและกำจัดโรค แมลง ที่นำมาใช้กับสตรอเบอรีตั้งแต่การผลิตไหลไปจนถึงการผลิตผลสด มีมูลค่าไม่ต่ำกว่า 20-30 ล้านบาทต่อปี อีกอย่างผลผลิตที่ออกมาสู่ตลาดเป็นฤดูกาลการท่องเที่ยวของเขตภาคเหนือ นอกจากนั้นยังตรงกับช่วงเทศกาลสำคัญต่าง ๆ หลายเทศกาล เช่น คริสต์มาส ปีใหม่ วาเลนไทน์ ความต้องการบริโภคสตรอเบอร์รี่จากนักท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตามการขยายตัวของการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปในปัจจุบัน แต่ผลผลิตของสตรอเบอร์รี่ที่ออกสู่ตลาดเกษตรกรผู้ปลูกมุ่งเน้นปริมาณผลผลิตมากกว่าสุขภาพของตนเองและผู้บริโภค จะเห็นได้จากการกระหน่ำพ่นสารเคมีและยาป้องกันกำจัดศัตรูพืชทุก ๆ เจ็ดวันในช่วงเริ่มการผลผลิตผลสด และเมือต้นสตรอเบอรีเริ่มให้ผลผลิตก็จะเพิ่มความถี่ของการฉีดพ่นก่อนที่จะเก็บผลคือ ประมาณ 3 วันครั้ง ซึ่งเกษตรผู้ปลูกในพื้นที่จะรู้ดีว่าไม่มีใครกล้ารับประทานสตรอเบอรีที่ปลูก นอกจากนี้แล้วยังพบว่าปัจจุบันพื้นที่การปลูกสตรอเบอรีในพื้นที่อำเภอสะเมิงและแม่แจ่มที่เป็นรอยต่อของทั้งสองอำเภอได้บุกรุกพื้นที่ป่าและแหล่งต้นน้ำเป็นจำนวนมาก เนื่องจากเกษตรกรทำการปลูกพืชซ้ำในพื้นที่เดิมมานานจนเกิดสภาวะดินเสื่อมโทรม การสะสมของโรคแมลงจนทำให้ต้องย้ายพื้นที่ปลูกโดยการแพ่วถางป่าตามมา สิ่งที่กล่าวมาเหล่านี้ก่อให้เกิดความไม่สมดุลในเคมีและกายภาพของดิน รวมไปถึงสภาพแวดล้อมที่ใช้ปลูกสตรอเบอรีรวมทั้งผู้บริโภคด้วย เช่น การสูญเสียความสามารถในการดูดซับแร่ธาตุอาหารต่าง ๆ ในดินของสตรอเบอรี ทำให้ผลผลิตมีแร่ธาตุและวิตามินต่ำ เป็นผลทำให้เกิดการขาดแคลนธาตุอาหารรองของพืช ทำให้จุลลินทรีย์ สิ่งมีชีวิตที่มีประโยชน์ในดินนั้นสูญหายและไร้สมรรถภาพ ทำลายแมลงปฏิปักษ์ที่สำคัญ ส่งผลให้สตรอเบอรีอ่อนแอขาดภูมิต้านทานโรค และทำให้การคุกคามของแมลง เชื้อโรคเกิดขึ้นได้ง่าย และที่สำคัญคือการทำให้ขาดความสมดุลในพื้นที่ทำการเกษตร ตลอดจนการเพิ่มต้นทุนการผลิตเกินความจำเป็นไม่สอดคล้องกับรายได้ และสุขภาพเสื่อมโทรม ซึ่งเป็นผลกระทบจากการใช้สารเคมีเกษตร ความไม่สมดุลนี้เป็นจุดเริ่มที่ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างต่อเนื่องเป็นอันตรายอย่างยิ่ง ผลเสียที่เกิดจากการใช้สารเคมีดังกล่าวก่อให้เกิดวิกฤติในห่วงโซ่อาหาร และระบบชีวะพันธ์ทางการเกษตร ซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาทางสุขภาพแก่เกษตรกร ผู้บริโภค สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ถ้าหากปัญหาเหล่านี้ไม่ได้รับการแก้ไขปัญหาก็จะเพิ่มทวีขึ้นจนยากที่จะเยียวยาแก้ไขได้ ดังนั้นหนทางหนึ่งที่จะแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเบ็ดเสร็จก็คือ “การทำการเกษตรภายใต้ระบบการสร้างสมดุลในพื้นที่ทำการเกษตร ด้วยการปรีบเปลี่ยนวิถีการทำงานด้านการเกษตรให้อยู่บนพื้นฐานความพอเพียง ใช้วัสดุต่าง ๆ ที่เหลือใช้นำกลับมาทำให้เกิดประโยชน์สูงสุด ระบบการเกษตรแบบอินทรีย์จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะก่อให้เกิดความยั่งยืนต่อไปในการผลิตสตรอเบอรีภายใต้เกษตรอินทรีย์นั้นยังไม่มีรายงานอย่างชัดเจน เนื่องจากคนส่วนใหญ่มีความเข้าใจว่าการผลิตสตรอเบอรีนันจะต้องใช้สารเคมีเม่านั้น ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงมุ่งเน้นการศึกษานำร่องการผลิตสตรอเบอรีอินทรีย์โดยใช้พื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นศูนย์กลางการศึกษาการปลูกสตรอเบอรีในระบบเกษตรอินทรีย์แบบครบวงจร ตั้งแต่การผลิตไหล รวมไปถึงวิธีการปลูกและดูแลรักษา ถือเป็นการสร้างทางเลือกใหม่ให้เกษตรกรในการปลูกสตรอเบอรีในระบบเกษตรอินทรีย์ที่จะสามารถนำไปใช้ได้อย่างแท้จริงและเห็นผล และยังลดการนำเข้าปุ๋ยและสารเคมีจากต่างประเทศ รวมทั้งการส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหารและสุขภาพที่ดีทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค นอกจากนี้ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาหลายประเทศทั่วโลกประเทศไทย กำลังเผชิญปัญหาด้านความแปรปรวนของสภาพอากาศโลกไม่เว้นแม้แต่ที่ส่งผลต่อโดยตรงระบบการเกษตร ผลของการเปลี่ยนแปลงด้านสภาพแวดล้อมโลกนอกจากจะส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตแล้ว ยังก่อให้เกิดการอุบัติใหม่ของโรคและการแพร่ระบาดของโรคแมลงศัตรูพืชที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วจนทำให้บางครั้งเกษตรกรต้องตัดสินใจใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชในปริมาณที่สูงกว่าอัตรากำหนดข้างฉลาก ส่งผลให้เกิดปัญหาตามมาคือ ความไม่ปลอดภัยของอาหาร จากผลการสุ่มตรวจผักและผลไม้ชนิดต่าง ๆ ที่วางขายบนในซูเปอร์มาร์เกตขนาดใหญ่หลายแห่งในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในปี พ.ศ. 2559 โดยเครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช (Thai-PAN: Thailand Pesticide Alert Network) พบว่า พริกแดง กะเพรา คะน้า สตรอเบอรี เมลอน แก้วมังกร ฝรั่ง และมะละกอ มีสารเคมีที่เป็นอันตรายตกค้างในผลิตภัณฑ์เหล่านี้สูงเกินกว่ามาตรฐานความปลอดภัย และที่น่าตกใจคือหนึ่งในสี่ของผลผลิตที่ตรวจพบเป็นผลผลิตที่ได้รับรองมาตรฐานเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ สิ่งเหล่านี้ที่เกิดขึ้นย่อมส่งผลกระทบโดยตรงทั้งต่อผู้ผลิต (เกษตรกร) ผู้บริโภค ในด้านสุขภาพรวมถึงหน่วยงานภาครัฐที่เป็นผู้รับผิดชอบโดยตรง และแน่นอนว่าคำถามที่จะตามมาคือแล้วจะมีผลผลิตจากที่ไหนและผลิตอย่างไรถึงจะสะอาดปลอดภัยมากกว่านี้ แนวทางหนึ่งที่จะช่วยลดปัญหาข้างต้นลงได้และเพิ่มคุณภาพผลผลิตที่มีความปลอดภัยสูงคือการผลิตภายใต้มาตรฐานเกษตรอินทรีย์

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเพิ่มพื้นที่การผลิตสตรอเบอรีอินทรีย์ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานอินทรีย์สำหรับป้อนเข้าสู้ตลาดเกษตรอินทรีย์และฟาร์มท่องเที่ยวเชิงเกษตรในพื้นที่อำเภอสะเมิง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : สำรวจการปนเปื้อนของสารเคมีของผลผลิตสตรอเบอรีในพื้นที่ปลูก สถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ซุปเปอร์มาเก็ตและตลาดขายผลไม้
KPI 1 : การตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ตัวอย่าง 100
ผลผลิต : การฝึกอบรมการผลิตสตรอเบอรีอินทรีย์
KPI 1 : จัดฝึกอบรมการผลิตสตรอเบอรีอินทรีย์ 3 ครั้ง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 120
ผลผลิต : การฝึกอบรมการสร้างความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชน
KPI 1 : จัดฝึกอบรมการสร้างความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชน 1 ครั้ง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 20
ผลผลิต : การฝึกอบรมการแปรรูปผลผลิตสตรอเบอรี่อินทรีย์
KPI 1 : จัดฝึกอบรมการแปรรูปผลผลิตสตรอเบอรี่อินทรีย์ 2 ครั้ง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 40
ผลผลิต : การเตรียมพื้นที่สำหรับผลิตไหลและผลสด
KPI 1 : เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 6
KPI 2 : พื้นที่การผลิตสตรอเบอรีอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ไร่ 5
ผลผลิต : การผลิตไหลอินทรีย์แบบแปลงเปิด
KPI 1 : ต้นลูกไหลจากการผลิตแบบไร้ดินและลงแปลง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ต้น 40000
ผลผลิต : การส่งเสริมการปลูกสตรอเบอรีอินทรีย์และส่งเสริมการแปรรูปสตรอเบอรี่
KPI 1 : ต้นแม่พันธุ์สตรอเบอรี่ปลอดโรค
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ต้น 5000
KPI 2 : ผลผลิตสตรอเบอรี
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิโลกรัม 4000
KPI 3 : รายได้จากการจำหน่ายผลผลิต
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 บาท 600000
ผลผลิต : การฝึกอบรมการส่งเสริมการแปรรูป
KPI 1 : จัดฝึกอบรมการส่งเสริมการแปรรูป 2 ครั้ง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 20
ผลผลิต : การติดตามประเมินผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
KPI 1 : ร้อยละของการดำเนินงานแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 2 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้บริโภค
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : สำรวจการปนเปื้อนของสารเคมีของผลผลิตสตรอเบอรีในพื้นที่ปลูก สถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ซุปเปอร์มาเก็ตและตลาดขายผลไม้
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 : สำรวจการปนเปื้อนของสารเคมีของผลผลิตสตรอเบอรีในพื้นที่ปลูก สถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ซุปเปอร์มาเก็ตและตลาดขายผลไม้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา  นาเทเวศน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุชาดา  สายทิ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน
-ค่าจ้างเหมาตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน 75 ตัวอย่างๆละ 800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตรสำหรับการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน
-วัสดุเกษตร ผัก ผลไม้ 100 ตัวอย่างๆละ 100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 70000.00
ผลผลิต : การฝึกอบรมการผลิตสตรอเบอรีอินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 : การฝึกอบรมการผลิตสตรอเบอรีอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา  นาเทเวศน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุชาดา  สายทิ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน
-สำหรับการฝึกอบรมจำนวน 120 ราย ๆ ละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
-สำหรับการฝึกอบรมเกษตรกร 120 ราย ๆละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเอกสารสำหรับการฝึกอบรม
-ค่าเอกสารสำหรับการฝึกอบรมจำนวน 120 ราย ๆ ละ 70 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรภาครัฐ
-ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน จำนวน 3 ครั้งๆ ละ 8 ชม
ภาคบรรยาย จำนวน 5 ชมๆละ 600 บาท
ภาคปฏิบัติ จำนวน 3 ชมๆละ 300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
-ขี้วัว 300 กระสอบๆละ 30 บาท
-แกลบ 300 กระสอบๆละ 20 บาท
-รำละเอียด 150 กิโลกรัมๆละ 15 บาท
-กระถางดำขนาด 3 นิ้ว 900 ใบๆละ 4 บาท
-ถาดรองกระถาง 150 ถาดๆละ 35 บาท
-ขุยมะพร้าว 150 กระสอบๆละ 80 บาท-ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด TPI 30 กระสอบๆละ 380 บาท
-ถุงดำขนาด 2.5” 30 กิโลกรัมๆละ 40 บาท
-กากน้ำตาล 132 ลิตรๆละ 25 บาท
-ไหลสตรอเบอรี่อินทรีย์ 1,500 ต้นๆละ 4 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 112500.00
ผลผลิต : การฝึกอบรมการสร้างความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชน
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 : การฝึกอบรมการสร้างความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา  นาเทเวศน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุชาดา  สายทิ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน
-สำหรับการฝึกอบรมจำนวน 20 ราย ๆ ละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
-สำหรับการฝึกอบรมจำนวน 20 ราย ๆละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรภาครัฐ
-ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน จำนวน 1 ครั้งๆ ละ 8 ชม
ภาคบรรยาย จำนวน 8 ชมๆละ 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
-กระดาษปรู๊พ 50 แผ่นๆละ 5 บาท
-ปากกาเคมี 2 หัว 25 ด้ามๆละ 12 บาท
-กระดาษ A3 4 รีมๆละ 200 บาท
-กระดาษสี A4 4 รีมๆละ 250 บาท
-เทปกาวย่น 4 ม้วนๆละ 50 บาท
-สมุด 10 แพ็ค 150บาท
-กาวสารพัดประโยชน์ 20 หลอด 50 บาท
-แฟ้มห่วง 40 แฟ้มๆละ 150 บาท
-ตัวเจาะกระดาษ 2 ตัวๆละ 475 บาท
-กระดาษ 100 ปอนด์ (แพ็ค 100 แผ่น) 4 แพ็คๆละ 500 บาท
-สีชอล์ค 12 กล่องๆละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 16,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 26600.00
ผลผลิต : การฝึกอบรมการแปรรูปผลผลิตสตรอเบอรี่อินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 4 : การฝึกอบรมการแปรรูปผลผลิตสตรอเบอรี่อินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา  นาเทเวศน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุชาดา  สายทิ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน
-สำหรับการฝึกอบรมจำนวน 40 ราย ๆ ละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
-สำหรับการฝึกอบรมจำนวน 40 ราย ๆละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเอกสารสำหรับการฝึกอบรม
-ค่าเอกสารสำหรับการฝึกอบรมจำนวน 40 ราย ๆ ละ 70 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรภาครัฐ
-ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน จำนวน 2 ครั้งๆ ละ 8 ชม
ภาคบรรยาย จำนวน 5 ชมๆละ 600 บาท
ภาคปฏิบัติ จำนวน 3 ชมๆละ 300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
-สตรอเบอรี่อินทรีย์ 120 กิโลกรัมละๆ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านครัว
-โหลแก้ว 12 Oz. 200 ขวดๆละ 15 บาท
-ขวดแก้ว 350 ml. 200 ขวดๆละ 20 บาท
-น้ำตาลทราย 20 กิโลกรัมๆละ 25 บาท
-มะนาว 4 กิโลกรัมๆละ 50 บาท
-เจลาตินชนิดแผ่น 40 ซองๆละ 65 บาท
-ยีสต์ 20 ซองๆละ 120 บาท
-น้ำผึ้ง 10 ลิตรๆละ 250 บาท
-ถังน้ำบรรจุ 100 ลิตร 2 ถังๆละ 400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 16,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 61400.00
ผลผลิต : การเตรียมพื้นที่สำหรับผลิตไหลและผลสด
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 5 : การเตรียมพื้นที่สำหรับผลิตไหลและผลสด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา  นาเทเวศน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุชาดา  สายทิ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
-ขุยมะพร้าวสับเล็ก 100 กระสอบๆละ 85 บาท
-ประกับพลาสติกขนาด 3/4 300 ตัวๆละ 5 บาท
-แผ่นเหลืองล่อแมลง 1,000 แผ่นๆละ 5 บาท
-สารสกัดสมุนไพรผงกำจัดแมลง 40 กระป๋องๆละ 380 บาท
-ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด tpi 100 กระสอบละๆ 380 บาท
-ปุ๋ยอินทรีย์นาโนชีวภาพชนิดน้ำ(สีม่วง)15 ถังๆละ 1,800 บาท
-ปุ๋ยอินทรีย์นาโนชีวภาพชนิดน้ำ (สีเขียว) 15 ถังๆละ 1,800 บาท
-ใบตองตึง 3,000 ตับๆละ 6 บาท
-ปุ๋ยอินทรีย์มูลค้างคาวหมัก 100% 10 กระสอบ ๆละ 980 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 150,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 150000.00
ผลผลิต : การผลิตไหลอินทรีย์แบบแปลงเปิด
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 6 : การผลิตไหลอินทรีย์แบบแปลงเปิด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา  นาเทเวศน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุชาดา  สายทิ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนงานด้านดูแลและติดตามการผลิตสตรอเบอรีในพื้นที่ ต.แม่นาจร อ.แม่แจ่ม
-ค่าจ้างบริการสนับสนุนงานด้านดูแลและติดตามการผลิตสตรอเบอรีในพื้นที่ ต.แม่นาจร อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ 1 คน จำนวน 9 เดือน ๆ ละ 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาผลิตไหลสตรอเบอรี่อินทรีย์
-ค่าจ้างเหมาผลิตไหล 1 คน จำนวน 5 งวด ๆ ละ 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 150,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 195000.00
ผลผลิต : การส่งเสริมการปลูกสตรอเบอรีอินทรีย์และส่งเสริมการแปรรูปสตรอเบอรี่
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 7 : การส่งเสริมการปลูกสตรอเบอรีอินทรีย์และส่งเสริมการแปรรูปสตรอเบอรี่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา  นาเทเวศน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุชาดา  สายทิ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาผลิตต้นแม่พันธุ์สตรอเบอรี่ปลอดโรค
-ค่าจ้างเหมาผลิตต้นแม่พันธุ์สตรอเบอรี่ปลอดโรค 1 คน จำนวน 5 งวด ๆ ละ 27,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือการปลูกสตรอเบอรีอินทรีย์
-ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือการปลูกสตรอเบอรีอินทรีย์ 450 เล่มๆละ 70 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 31,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำลังกระดาษ
-ลังกระดาภายนอก ผลิตจากกระดาษไม่พิมพ์ลาย สีธรรมดา ลูกฟูก 3 ชั้น ทนความชื้น เข้าห้องเย็นได้ และมีรูเจาะเพื่อระบายอากาศ สำหรับเรียงถาดกระดาษได้ 4 ถาด 2 ชั้น จำนวน 200 ลังๆละ 60 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำสติ๊กเกอร์
-สติ๊กเกอร์สำหรับติดกล่องผลผลิต 200 แผ่นๆละ 100 บาท
( 1 แผ่นมี 32 ดวง )
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือการแปรรูปและสูตรอาหารจากสตรอเบอรี่เชิงสร้างสรรค์
-ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือการแปรรูปและสูตรอาหารจากสตรอเบอรี่เชิงสร้างสรรค์ จำนวน 1,400 เล่ม ๆ ละ 70 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 98,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 296500.00
ผลผลิต : การฝึกอบรมการส่งเสริมการแปรรูป
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 8 : การฝึกอบรมการส่งเสริมการแปรรูป

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา  นาเทเวศน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุชาดา  สายทิ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน
-สำหรับการฝึกอบรมจำนวน 20 ราย ๆ ละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
-สำหรับการฝึกอบรมจำนวน 20 ราย ๆละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเอกสารสำหรับการฝึกอบรม
-ค่าเอกสารสำหรับการฝึกอบรมจำนวน 20 ราย ๆ ละ 70 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรภาครัฐ
-ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน จำนวน 2 ครั้งๆ ละ 8 ชม
ภาคบรรยาย จำนวน 5 ชมๆละ 600 บาท
ภาคปฏิบัติ จำนวน 3 ชมๆละ 300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว
-ตัวอย่างผลิตภัณฑ์แปรรูปผลไม้ชนิดอบแห้ง 80 ตัวอย่างๆละ100 บาท
-ตัวอย่างผลิตภัณฑ์แปรรูปผักชนิดน้ำ 80 ตัวอย่างๆละ 100 บาท
-ตัวอย่างผลิตภัณฑ์แปรรูปผักชนิดอบแห้ง 80 ตัวอย่างๆละ 100 บาท
-ตัวอย่างผลิตภัณฑ์แปรรูปผลไม้ชนิดน้ำ 80 ตัวอย่างๆละ 100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 32,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
-ค่าถ่ายเอกสาร 1,100 บาท
-กระดาษปรู๊พ 50 แผ่นๆละ 5 บาท
-กระดาษ A3 1 รีมๆละ 200 บาท
-กระดาษสี A4 1 รีมๆละ 250 บาท
-เทปกาวย่น 4 ม้วนๆละ 50 บาท
-กระดาษโน้ตกาวในตัว 10 แพ็ค 150บาท
-กาวสารพัดประโยชน์ 10 หลอด 50 บาท
-แฟ้มห่วง 40 แฟ้มๆละ 100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 54600.00
ผลผลิต : การติดตามประเมินผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 9 : การติดตามประเมินผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา  นาเทเวศน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุชาดา  สายทิ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง
-ค่าเบี้ยเลี้ยงหัวหน้าโครงการและผู้ติดตาม 144 บาท จำนวน 64 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,216.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก
-ค่าที่พัก 1 คน จำนวน 16 คืน ๆ ละ 750 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์ พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง
-ค่าจ้างเหมารถยนต์จำนวน 32 ครั้ง ๆละ 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 80,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค้าจ้างเหมารวบรวมและขนส่งผลผลิต
-ค้าจ้างเหมารวบรวมและขนส่งผลผลิต 40 ครั้งๆละ 800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 32,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนงานด้านจัดทำเอกสารโครงการ
-ค่าจ้างบริการสนับสนุนงานด้านจัดทำเอกสาร 1 คน จำนวน 9 เดือน ๆ ละ 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
-ปากกา ดินสอ กรรไกร ที่เย็บกระดาษ น้ำยาลบคำผิด กระดาษ A4และอื่นๆ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,964.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์
-หมึกปริ้นท์ 4 กล่องๆละ 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 286180.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การแพร่ระบาดของโรคแมลงและดินที่ขาดความอุดมสมบูรณ์ ผลผลิตไม่สามารถจำหน่ายได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
จัดทำตารางการดูแลรักษาและป้องกันโรคแมลงอย่างเคร่งครัด พร้อมทั้งทำการปรับปรุงบำรุงดินก่อนปลูก
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล