12272 : โครงการเพิ่มศักยภาพและขีดสมรรถนะของชุมชน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
นางกัลยารัตน์ วงศ์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 16/3/2561 16:07:35
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์ (Go Eco U.)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
21/02/2561  ถึง  28/09/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  200  คน
รายละเอียด  นักศึกษา เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ของคณะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป จำนวน 35,000 บาท
2561 35,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาง ณัฏฐกานต์  มุกดาจตุรพักตร์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชาตรี  วิระสิทธิ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT.61-4 การบูรณาการองค์ความรู้ที่เพิ่มศักยภาพและขีดสมรรถนะของชุมชนและสนองงานโครงการในพระราชดำริ
เป้าประสงค์ FT.61-4.1 เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับ
ตัวชี้วัด FT.61-4-1 ระดับความสำเร็จของการบูรณาการผลงานบริการวิชาการสู่พันธกิจอื่นๆ ของคณะ
กลยุทธ์ FT.61-4.1.1 ส่งเสริมการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับพันธกิจอื่นๆ
ตัวชี้วัด FT.61-4-2 ระดับความสำเร็จของการบริการทางวิชาการแก่สังคม
กลยุทธ์ FT.61-4.1.2 ส่งเสริมและสนับสนุนการบริการวิชาการแก่สังคมทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เกิดรายได้
ตัวชี้วัด FT.61-4-3 จำนวนองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยและ/หรือ การบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FT.61-4.1.3 สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการบูรณาการองค์ความรู้ทางการประมงกับการให้บริการวิชาการแก่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ด้วยคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานที่มีการศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านการประมงและทรัพยากรทางน้ำอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีผลงานวิจัยที่สามารถตอบโจทย์ปัญหาและเกิดประโยชน์แก่เกษตรกรเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีการนำองค์ความรู้ไปพัฒนาและจัดตั้งเป็นฐานเรียนรู้ทางการประมงซึ่งตั้งอยู่ภายในกำกับดูแลของคณะฯ อันได้แก่ ฐานเรียนรู้ปลาบึก สาหร่ายและแพลงก์ตอน ปลานิลแปลงเพศ สถานแสดงพรรณปลาภาคเหนือ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาทางน้ำแม่โจ้ และโครงการจัดตั้งฐานเรียนรู้การเพาะเลี้ยงไรแดง และการเพาะเลี้ยงกุ้งฝอย โดยมีการเผยแพร่ความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยีจากการวิจัยและฐานเรียนรู้ต่างๆ สู่เกษตรกร เยาวชน นักเรียน นักศึกษา ผู้สนใจและชุมชน ในหลายรูปแบบกิจกรรม เช่น การออกหน่วยบริการวิชาการแก่สังคม การจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การให้บริการศึกษาดูงานฐานเรียนรู้จากหน่วยงานภายนอก และการบริการทางสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรมีการพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการบริการวิชาการอย่างเหมาะสม ทันต่อสภาวการณ์และมีความต่อเนื่องในการให้บริการวิชาการแก่สังคม จึงได้จัดทำโครงการ เพิ่มศักยภาพและขีดสมรรถนะของชุมชน โดยมุ่งหวังให้เกษตรกรในชุมชนเป้าหมายสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดและบรรลุเป้าประสงค์ที่จะให้มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรได้พัฒนาองค์ความรู้และการให้บริการวิชาการที่มีประโยชน์ต่อการแก้ปัญหาของเกษตรกรอย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานและการเผยแพร่องค์ความรู้เข้าไปแก้ไขปัญหาของเกษตรกรและชุมชน ภายใต้โครงการหรือกิจกรรมบูรณาการด้านการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการนำความรู้ของอาจารย์และบุคลากรมาบูรณาการเข้ากับการเรียนการสอน การวิจัย และถ่ายทอดเป็นงานบริการวิชาการสู่เกษตรและชุมชน
เพื่อสร้างเสริมศักยภาพนักศึกษาในกระบวนการเรียนการสอนไปฝึกปฏิบัติจริงกับเกษตรกรและชุมชน ภายใต้โครงการหรือกิจกรรมบูรณาการด้านบริการวิชาการร่วมกับกิจกรรมนักศึกษา
เพื่อพัฒนากระบวนการให้บริการวิชาการที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและได้รับความพึงพอใจจากกลุ่มเป้าหมายได้ในระดับดี
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้รับบริการจากหน่วยบริการวิชาการและวิจัยมีความรู้ทางการประมงและสามารถนำไปพัฒนาชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยส่งเสริมให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการปฏิบัติแบบบูรณาการ
KPI 1 : จำนวนเกษตรกรหรือบุคคลภายนอกที่เข้าร่วมกิจกรรมบูรณาการวิชาการด้านการประมงกับชุมชนและหรือติดต่อขอรับบริการองค์ความรู้ทางการประมง (จากจำนวน 50 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนครั้งในการจัดทำกิจกรรมออกหน่วยบริการวิชาการประมง (ครอบคลุมกิจกรรมบูรณาการร่วมกับโครงการวิจัย)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ครั้ง 3
KPI 3 : จำนวนครั้งในการสำรวจ ติดตาม และประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานของชุมชนเป้าหมาย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ครั้ง 3
KPI 4 : จำนวนชุมชนเป้าหมายตามแผนงานบูรณาการวิชาการด้านการประมง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ชุมชน 2
KPI 5 : จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมบูรณาการวิชาการด้านการประมงกับชุมชน (จากจำนวน 150 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยและหรือการบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 องค์ความรู้ 4
KPI 7 : ระดับความสำเร็จของการบริการทางวิชาการแก่สังคม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คะแนน 5
KPI 8 : ระดับคะแนนความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมบูรณาการวิชาการด้านการประมง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คะแนน 3.51
KPI 9 : ระดับคะแนนประโยชน์หรือผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมงานบูรณาการวิชาการด้านการประมง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คะแนน 3.51
KPI 10 : ระดับคะแนนประโยชน์หรือผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้รับบริการภายนอกที่เข้าร่วมกิจกรรมบูรณาการวิชาการด้านการประมงเพื่อนำไปพัฒนาชุมชน/องค์กร/สังคม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คะแนน 3.51
KPI 11 : ร้อยละของโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 100
KPI 12 : จำนวนฐานเรียนรู้ภายในคณะฯ ที่ได้รับการพัฒนา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ฐาน 2
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้รับบริการจากหน่วยบริการวิชาการและวิจัยมีความรู้ทางการประมงและสามารถนำไปพัฒนาชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยส่งเสริมให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการปฏิบัติแบบบูรณาการ
ชื่อกิจกรรม :
โครงการเพิ่มศักยภาพและขีดสมรรถนะของชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 21/02/2561 - 28/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายสุฤทธิ์  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางณัฏฐกานต์  มุกดาจตุรพักตร์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ขจรเกียรติ์  ศรีนวลสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายประเสริฐ  ประสงค์ผล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายเทพพิทักษ์  บุญทา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาตรี  วิระสิทธิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเดินทางไปสำรวจ ติดตาม และประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานของชุมชนเป้าหมาย (น้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับรถราชการ) จำนวน 3 ครั้งๆ ละ 500 บาท รวม 1,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเดินทางไปจัดกิจกรรมออกหน่วยบริการวิชาการประมง (น้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับรถราชการ) จำนวน 3 ครั้งๆ ละ 500 บาท รวม 1,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุก่อสร้าง เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เป็นเงิน 13,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 13,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 35000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
องค์ความรู้ทางการประมงบางเรื่องยังขาดความต่อเนื่องในการพัฒนาและต่อยอดผลงานเพื่อรองรับการให้บริการแก่ชุมชนที่สนใจ
ชุมชนที่มีความต้องการรับการให้บริการวิชาการอยู่ในพื้นที่ห่างไกล
เกษตรกรหรือบุคคลทั่วไปเข้ามาติดต่อขอรับบริการในช่วงเวลาการปฏิบัติงานประจำของผู้ที่เกี่ยวข้องโดยไม่ได้นัดหมายส่งผลให้ไม่สามารถให้บริการได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
องค์ความรู้ทางด้านการประมงบางเรื่องที่เกษตรกรต้องการทางคณะไม่สามารถให้บริการได้ เช่น การเลี้ยงกุ้งฝอย การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำทะเล เป็นต้น
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ฐานเรียนรู้ต่างๆ ภายในคณะกับหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่มีกิจกรรมเกี่ยวข้องกับต่างประเทศ เช่น คณะพัฒนาการท่องเที่ยว กองวิเทศสัมพันธ์ เป็นต้น
เพิ่มช่องทางการนัดหมายกับเกษตรกรหรือบุคคลทั่วไปที่เข้ามาติดต่อขอรับบริการผ่าน facebook และ Line ของคณะและเจ้าหน้าที่ เพื่อสามารถพูดคุยและนัดหมายการพบปะพูดคุยได้ในเวลาที่ผู้ปฏิบัติงานว่างจากงานประจำ
การให้คำปรึกษาผ่านเครือข่ายศิษย์เก่าหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้บริการองค์ความรู้ทางด้านการประมงบางเรื่องที่เกษตรกรต้องการทางคณะไม่สามารถให้บริการได้
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล