12278 : การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตข้าวและพืชไร่อินทรีย์แบบครบวงจร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
น.ส.ปรัชวัน อ่อนคง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 13/2/2561 15:38:34
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2560  ถึง  30/09/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  300  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร และผู้สนใจทั่วไป จำนวน 300 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารอินทรีย์จังหวัดเชียงใหม่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 2561 1,786,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ธิดารัตน์  ศิริบูรณ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตข้าวและพืชไร่อินทรีย์ ให้เป็นระบบและมีประสิทธิภาพนั้น ต้องเน้นเรื่องของธรรมชาติเป็นสำคัญ ได้แก่ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ การรักษาสมดุลธรรมชาติและการใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ เพื่อการผลิตอย่างยั่งยืน เช่น ปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดินโดยการปลูกพืชหมุนเวียน การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในไร่นาหรือจากแหล่งอื่น ควบคุมโรค แมลงและสัตว์ศัตรูข้าวและพืชไร่โดยวิธีผสมผสานที่ไม่ใช้สารเคมี การเลือกใช้พันธุ์ข้าวที่เหมาะสมมีความต้านทานโดยธรรมชาติ รู้วิธีการคัดเลือกพันธุ์ข้าวที่ดีและมีคุณภาพ รักษาสมดุลของศัตรูธรรมชาติ การจัดการพืช ดิน และน้ำ ให้ถูกต้องเหมาะสมกับความต้องการของต้นข้าวและพืชไร่ เพื่อทำให้พืชเจริญเติบโตได้ดี มีความสมบูรณ์แข็งแรงตามธรรมชาติ ซึ่งการปฏิบัติวิธีดังกล่าวสามารถทำให้ข้าวและพืชไร่ที่ปลูกให้ผลผลิตสูง มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานที่มีองค์ความรู้ และความสามารถในการจัดการระบบการเกษตรแบบครบวงจร โครงการนี้ได้มุ้งเน้นไปที่เทคโนโลยีการผลิตข้าวและพืชไร่ในระบบอินทรีย์ โดยมีแนวทาง ดังนี้ 1. งานส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวและพืชไร่อินทรีย์ ในเขตภาคเหนือ มีพื้นที่ปลูกข้าวเป็นอันดับสองของประเทศ (22 %) รองจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (57%) โดยภาคเหนือมีพื้นที่ปลูกข้าวประมาณ 14 ล้านไร่ แต่ว่ามีพื้นที่ปลูกข้าวอินทรีย์เพียงประมาณ 10 % ของพื้นที่ปลูกเท่านั้น ซึ่งการแนะนำและส่งเสริมการปลูกข้าวอินทรีย์มีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพื่อให้เกษตรกรได้หันกลับมาดูแลสุขภาพร่างกาย และสภาพแวดล้อม ก่อให้เกิดความยั่งยืนตามธรรมชาติมากขึ้น เนื่องจากพื้นที่นาหลังจากการเก็บเกี่ยวข้าว ควรจะปลูกพืชชนิดอื่นในระบบการปลูกพืชหมุนเวียน เพื่อเป็นการลดการระบาดโรคและแมลงศัตรูพืช และปัจจุบันพื้นที่ปลูกพืชมีเงื่อนไขของน้ำ โดยเฉพาะพื้นที่เขตชลประทานจะถูกจำกัดเวลาการปล่อยน้ำ ซึ่งปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการปลูกข้าว จึงต้องหาพืชอื่นเข้ามาทดแทน โดยการปลูกพืชไร่ ได้แก่ ข้าวโพด ถั่วเหลือง ถั่วเขียว เป็นอีกทางเลือกในการเพิ่มรายได้ ข้าวโพดเป็นพืชที่นิยมปลูกและตลาดต้องการเป็นจำนวนมาก ซึ่งทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้ตระหนักถึงการผลิตพืชดังกล่าวในระบบอินทรีย์ จึงได้มีการสร้างระบบการปลูกพืชไร่อินทรีย์แบบครบวงจร เพื่อให้เกษตรกรได้นำไปใช้ประโยชน์ และเป็นการใช้พื้นที่ได้อย่างเต็มที่ ให้ผลประโยชน์สูงสุด 2. ปัจจุบันการผลิตข้าวและพืชไร่อินทรีย์นั้นมีปัญหาอย่างมาก ในเรื่องความไม่เข้าใจของเกษตรกรในเรื่องการปรับปรุงสภาพพื้นที่ การคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าว การจัดการดูแลแปลงปลูกข้าว การเก็บเกี่ยว การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์พืช ตลอดจนการจัดการเครื่องจักรกลการเกษตร ดังนั้นทางโครงการได้จัดทำแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีการผลิตข้าวและพืชไร่อินทรีย์แบบครบวงจรเพื่อส่งเสริมให้ นักเรียน นักศึกษา และเกษตรกรทั่วไป ได้เข้ามาเรียนรู้การจัดการปลูกข้าวและพืชไร่อื่นๆ ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์และสมุนไพรของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และนโยบายของรัฐบาลแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ซึ่งได้มีแนวทางการพัฒนาด้านการเกษตรซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศ กล่าวคือการ ส่งเสริมและเร่งขยายผลแนวคิดการทำการเกษตรตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง โดย ส่งเสริมขยายผลและพัฒนาการผลิตในระบบ เกษตรกรรมยั่งยืน ทั้งในรูปแบบเกษตรทฤษฏีใหม่ เกษตรผสมผสาน วนเกษตร เกษตรอินทรีย์ เกษตร ธรรมชาติ รวมถึงการทำเกษตรกรรมตามหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี โดยสนับสนุนบทบาทเครือข่าย ปราชญ์ชาวบ้านในการขับเคลื่อน และการปรับกลไกและโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตรที่จำเป็นในการทำเกษตรกรรมยั่งยืน ดังนั้นโครงการนี้ จึงมีเป้าหมายหลักในการส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวและพืชไร่อินทรีย์และจัดตั้งแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีการผลิตข้าวและพืชไร่อินทรีย์แบบครบวงจร ซึ่งโครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่อง ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากทางมหาวิทยาลัย ในปี งบประมาณ 2559 และ 2560 โดยในส่วนผลการดำเนินงานที่แล้วเสร็จคือ ได้มีการสร้างเครือข่ายภาครัฐ เกษตรกร และเอกชน จำนวนรวม 200 ราย ในเขตอำเภอสันทราย อำเภอแม่ริม อำเภอแม่แตง และอำเภอพร้าว ได้จัดทำแหล่งเรียนรู้การผลิตข้าวอินทรีย์ในพื้นที่ 2.2 ไร่ โดยได้บูรณาการด้านการเรียนการสอนและการบริการวิชาการโดยมี นักศึกษาจำนวน 5 วิชา ได้เข้ามาเรียนรู้ และมีเกษตรกรเข้ามาดูงาน ดังนั้นกิจกรรมของโครงการที่คาดว่าจะดำเนินการต่อไปในปีงบประมาณ 2561 ที่เสนอโครงการนี้ ได้แก่ การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตข้าวและพืชไร่อินทรีย์ เพื่อนำไปส่งเสริมให้กับเกษตรใน 6 อำเภอในจังหวัดเชียงใหม่ คือ อำเภอสันทราย อำเภอแม่ริม อำเภอแม่แตง อำเภอพร้าว อำเภอดอยสะเก็ด และอำเภอสันกำแพง และพัฒนาพื้นที่แหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีการผลิตข้าวและพืชไร่อินทรีย์แบบครบวงจร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของการให้บริการทางวิชาการโดยพัฒนาขีดความสามารถด้านความรู้ความเชี่ยวชาญด้านบุคลากรและ/หรือบัณฑิต การบูรณาการกับการเรียนการสอนซึ่งเน้นการปฏิบัติจริงเต็มรูปแบบ และการให้บริการด้านการฝึกอบรมฯ ถ่ายทอดและเผยแพร่องค์ความรู้ ควบคู่ไปกับการพัฒนาเทคโนโลยีและองค์ความรู้ใหม่อยู่เสมอ เพื่อสอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยและรัฐบาลต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวและพืชไร่อินทรีย์ในเขตภาคเหนือตอนบน
สร้างแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีการผลิตข้าวและพืชไร่อินทรีย์แบบครบวงจรเพื่อส่งเสริมให้เกษตรกร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : กิจกรรมส่งเสริมและอบรมให้ความรู้เทคโนโลยีการผลิตข้าวอินทรีย์และพืชไร่อินทรีย์
KPI 1 : พื้นที่ปลูกพืชข้าวและพืชไร่อินทรีย์เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ไร่ 100
KPI 2 : ผู้ได้รับการอบรมรวมถึงนักศึกษา ที่ใช้ประโยชน์ด้านการเรียน การสอน และเกษตรกร ที่สนใจ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 300
ผลผลิต : กิจกรรมผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวและพืชไร่อินทรีย์
KPI 1 : ปริมาณเมล็ดพันธุ์ข้าวและพืชไร่อินทรีย์รวมทั้งหมด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ตัน 3
ผลผลิต : กิจกรรมสร้างแหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีการผลิตข้าวและพืชไร่อินทรีย์แบบครบวงจร
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้ได้รับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของโครงการบรรลุวัตถุประสงค์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของการดำเนินโครงการและเสร็จตามระยะเวลากำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : กิจกรรมส่งเสริมและอบรมให้ความรู้เทคโนโลยีการผลิตข้าวอินทรีย์และพืชไร่อินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมส่งเสริมและอบรมให้ความรู้เทคโนโลยีการผลิตข้าวอินทรีย์และพืชไร่อินทรีย์
6 อำเภอ ได้แก่ อ.สันทราย อ.ดอยสะเก็ด อ.แม่ริม อ.แม่แตง อ.สันกำแพง และ อ.พร้าว

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ธิดารัตน์  ศิริบูรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน อบรม 6 ครั้ง
(สำหรับวิทยากร เจ้าหน้าที่และผู้เข้าร่วมอบรม)
- ค่าอาหารกลางวัน คนละ 200 บาท จำนวน 60 คน จำนวน 6 ครั้ง เป็นเงิน 72,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 72,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อบรม 6 ครั้ง (สำหรับวิทยากร เจ้าหน้าที่และผู้เข้าร่วมอบรม)
- ค่าอาหารว่าง คนละ 35 บาท จำนวน 12 ครั้ง
60 คน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 25,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์รวมน้ำเชื้อเพลิง
- ค่าจ้างรถยนต์ 2,500 บาท จำนวน 12 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำเอกสารประกอบการอบรม 6 ครั้ง
- จำนวน 6 ครั้งๆ 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 18,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง
-น้ำมันดีเซล และน้ำมันแก๊สโซฮอล์ เดินทางเพื่อไปสำรวจพื้นที่สำหรับอบรม เก็บตัวอย่างดิน ตัวอย่างน้ำ ในพื้นที่ 6 อำเภอ ๆ ละ 6 ครั้ง เป็นระยะ 5,000 กม.ๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ในหน่วยงานของภาครัฐ
-จำนวน 4 คน x 6 ครั้งๆละ 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 28,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
- อุปกรณ์สำนักงาน เช่น กระดาษ สมุดบันทึก ปากกา แฟ้ม กระดาษสติ๊กเกอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์
-หมึกพิมพ์ พาวเวอร์ซับพลาย ซีดี แรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์
-วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น กระดาษเพาะ ขวด สารเคมี
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 150,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
-ปุ๋ยอินทรีย์ 120 กระสอบ x 350 บาท เป็นเงิน 42,000 บาท
แกลบดำ 120 ถุง x 60 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
มูลสัตว์ 120 กระสอบ x 30 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ขุยมะพร้าว 125 กระสอบ x 100 บาท เป็นเงิน 12,500 บาท
มูลค้างคาว 20 กระสอบ x 850 บาท เป็นเงิน 17,000 บาท
จอบพร้อมด้าม 20 อัน x 300 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
ถังน้ำหมัก 18 ใบ x 300 บาท เป็นเงิน 5,400 บาท
ผ้าฟาง 7 ผืน x900 บาท เป็นเงิน 6,300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 100,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 494000.00
ผลผลิต : กิจกรรมผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวและพืชไร่อินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวและพืชไร่อินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ธิดารัตน์  ศิริบูรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนงานด้านการเกษตร
-จำนวน 1 คนเป็นเวลา 9 เดือน ๆ ละ 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสนับสนุนงานด้านการเกษตร
-จำนวน 2 คนเป็นเวลา 9 เดือน ๆ ละ 9,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 162,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
วัสดุสำนักงาน
- อุปกรณ์สำนักงาน เช่น กระดาษ สมุดบันทึก ปากกา แฟ้ม กระดาษสติ๊กเกอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
วัสดุคอมพิวเตอร์
-หมึกพิมพ์ พาวเวอร์ซับพลาย ซีดี แรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
วัสดุวิทยาศาสตร์
-วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น กระดาษเพาะ ขวด สารเคมี
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 175,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
วัสดุเกษตร
-ปุ๋ยอินทรีย์ 400 กระสอบ x 350 บาท เป็นเงิน 140,000 บาท
แกลบดำ 200 ถุง x 60 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
มูลสัตว์ 1,000 กระสอบ x 30 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
ดินดำ 10 คัน x 2,200 บาท เป็นเงิน 22,000 บาท
ขุยมะพร้าว 200 กระสอบ x 100 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
ปุ๋ยอินทรีย์ชนิดน้ำ 120 ขวด x 150 บาท เป็นเงิน 18,000 บาท
ตาข่ายอวนแดง 10 มัด x 3,500 บาท เป็นเงิน 35,000 บาท
ถุงสูญญากาศ 130 มม. 25 แพ็คx 500 บาทเป็นเงิน 12,500 บาท
ผ้าฟาง 10 ผืน x 900 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท
ถังน้ำหมัก 10 ใบx 300 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
จอบพร้อมด้าม 20 อัด x 300 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
เสียมขุดพร้อมด้าม 20 อัด x 260 บาท เป็นเงิน 5,200 บาท
ดินเพาะกล้า 50 กระสอบ x 390 บาท เป็นเงิน 19,500 บาท
สายยาง 6 หมุน 4 ม้วนx 3000 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
เทปสายน้ำหยด 5 ม้วน x 1800 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท
วาล์วน้ำหยด 200 อัน x 30 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
กรรไกรตัดกิ่ง 25 ด้าม x 650 บาท 16,250 บาท
กระถางพลาสติกดำ ขนาด 12 นิ้ว 262 ใบx25 บาท เป็นเงิน 6,550 บาท
กระถางพลาสติกดำ ขนาด 17 นิ้ว 300 ใบx 40 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
ถุงเพาะชำขนาด 3*6นิ้ว 100 กก.x 60 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 400,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 912000.00
ผลผลิต : กิจกรรมสร้างแหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีการผลิตข้าวและพืชไร่อินทรีย์แบบครบวงจร
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมสร้างแหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีการผลิตข้าวและพืชไร่อินทรีย์แบบครบวงจร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ธิดารัตน์  ศิริบูรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
- อุปกรณ์สำนักงาน เช่น กระดาษ สมุดบันทึก ปากกา แฟ้ม กระดาษสติ๊กเกอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์
-หมึกพิมพ์ พาวเวอร์ซับพลาย ซีดี แรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
-ปุ๋ยอินทรีย์ 200 กระสอบ x 350 บาท เป็นเงิน 70,000 บาท
ปุ๋ยน้ำอินทรีย์ 120 ขวด x 150 บาท เป็นเงิน 18,000 บาท
มูลสัตว์ 1,000 กระสอบ x 30 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
ขุยมะพร้าว 100 กระสอบ x 100 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
มูลค้างคาว 50 กระสอบ x 850 บาท เป็นเงิน 42,500 บาท
กระสอบเก็บตัวอย่างพืช 1,000 ใบ x 10 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
ถุงตาข่ายสีฟ้า 1,000 ใบ x 50 บาท เป็นเงิน 50,000 บาท
ถุงสีน้ำตาลเก็บเมล็ดพืช 5,000 ใบ x 4 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
สารชีวภาพกำจัดศัตรูพืช 80 กระป๋อง x 450 บาทเป็นเงิน 36,000 บาท
สารชีวภาพกำจัดโรคพืช 80 กระป๋อง x 450 บาทเป็นเงิน 36,000 บาท
จอบพร้อมด้าม 22 อัด x 300 บาท เป็นเงิน 6,600 บาท
เสียมขุดพร้อมด้าม 20 อัด x 260 บาท เป็นเงิน 5,200 บาท
กรรไกรตัดกิ่ง 20 ด้าม x 650 บาท 13,000 บาท
บัวรดน้ำ 30 อันx 90 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 350,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 380000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
เกษตรกรสนใจทำการเกษตรอินทรีย์น้อย เพราะตลาดรับซื้อผลผลิตไม่แน่นอน
การเจริญเติบโตของพืชไม่ดี ทั้งนี้เพราะสภาพอากาศร้อนแล้ง และขาดน้ำในการเกษตร
พื้นที่ส่วนใหญ่ทำการเกษตรแบบอาศัยน้ำฝน ทำให้เกิดปัญหาในช่วงฤดูแล้ง ไม่มีน้ำ ไม่สามารถทำการเกษตร
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ประสานงานผู้รับซื้อผลผลิต และตลาดขายสินค้าการเกษตรอินทรีย์ให้มากขึ้น
แนะนำปรับเปลี่ยนมาปลูกที่ต้องการน้ำน้อย และเป็นที่ต้องการของตลาด
สร้างระบบน้ำ สามารถมาให้ในช่วงฤดูแล้งได้
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล