12284 : โครงการรวบรวมพันธฺุ์ไม้ผลเพื่อปรับปรุงพันธุ์และบริการพันธุ์ให้แก่เกษตรกร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
นางรัตนา ศรีวิชัย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 22/2/2561 14:04:42
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/10/2560  ถึง  30/09/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา ประชาชน ตลอดจนผู้สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่ใช้งบประมาณ 2561 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. จันทร์เพ็ญ  สะระ
นาย บุญรัตน์  ยิ่งโยชน์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.1 ร้อยละของงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส61-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ วส61-2.5 เป็นแหล่งข้อมูลและการพัฒนาพันธุกรรมพืชและสัตว์
ตัวชี้วัด วส61-12. จำนวนพันธุ์พืชและสัตว์จากการเก็บข้อมูลและการพัฒนาพันธุกรรม
กลยุทธ์ วส61-2.5.1 พัฒนาสำนักวิจัยฯ ให้เป็นแหล่งข้อมูลและการพัฒนาพันธุกรรมพืชและสัตว์
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การปรับปรุงพันธุ์พืชให้ประสบความสำเร็จนั้น หัวใจที่สำคัญที่สุดในการปรับปรุงพันธุ์ คือ การรวบรวมพันธุ์ เพราะการปรับปรุงพันธุ์พืชให้มีลักษณะตามที่ต้องการ จะต้องมีฐานพันธุกรรมหลากหลายและกว้าง เนื่องจากพันธุ์พืชที่ใช้ในปัจจุบันเป็นผลมาจากการผสมพันธุ์และการคัดเลือกของนักปรับปรุงพันธุ์ จนพันธุ์เหล่านี้มีฐานทางพันธุกรรมแคบมาก หากไม่มีการรวบรวมเชื้อพันธุกรรมใหม่ๆ จะทำให้เกิดความหลากหลายทางพันธุกรรมน้อยลง และบางสายพันธุ์ก็ค่อยๆ สูญพันธุ์ไป ทำให้การปรับปรุงพันธุ์ไม่ประสบความสำเร็จ จึงจำเป็นที่จะต้องมีการรวบรวมพันธุ์ไม้ผลและศึกษาความซ้ำซ้อนทางพันธุกรรมด้วยเทคนิคทางชีวโมเลกุล เนื่องจากประวัติความเป็นมาของไม้ผลในประเทศไทยนั้นไม่ค่อยชัดเจน บางครั้งอาจจะมีการนำพันธุ์เดิมมาเปลี่ยนชื่อใหม่เพื่อให้เป็นที่สนใจแก่เกษตรกร ดังนั้นโครงการรวบรวมพันธุ์ไม้ผลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์และบริการพันธุ์ให้แก่เกษตรกร นอกจากการรวบรวมพันธุ์ไม้ผลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์แล้ว ยังขยายพันธุ์เพื่อแจกจ่ายให้เกษตรกรผู้สนใจเพื่อเป็นการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอีกด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. รวบรวมเชื้อพันธุกรรมไม้ผลสำหรับงานปรับปรุงพันธุ์
2. เพื่อขยายพันธุ์ไม้ผลบริการให้แก่เกษตรกร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การรวบรวมพันธุ์ไม้ผลและบริการต้นพันธุ์
KPI 1 : ผู้เข้ารับบริการพันธุ์ไม้ผล
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 50
KPI 2 : จำนวนพันธุ์ไม้ผลที่รวบรวม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 พันธุ์ 20
KPI 3 : จำนวนต้นพันธุ์ไม้ผลที่ขยายพันธุ์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ต้น 100
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การรวบรวมพันธุ์ไม้ผลและบริการต้นพันธุ์
ชื่อกิจกรรม :
1. รวบรวมพันธุ์ไม้ผล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2560 - 31/01/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายบุญรัตน์  ยิ่งโยชน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.จันทร์เพ็ญ  สะระ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
๒. ศึกษาความซ้ำซ้อนของสายพันธุ์ด้วยเทคนิคทางชีวโมเลกุล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2561 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายบุญรัตน์  ยิ่งโยชน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.จันทร์เพ็ญ  สะระ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
๓. ขยายกิ่งพันธุ์เพื่อบริการให้แก่เกษตรกรและผู้สนใจ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/06/2561 - 31/08/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายบุญรัตน์  ยิ่งโยชน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.จันทร์เพ็ญ  สะระ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
- เกิดการสูญเสียเนื่องมาจากโรคและแมลง
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
- ใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชและโรคพืช
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล