12297 : การพัฒนาศูนย์เรียนรู้เทคโนโลยีการผลิตผักสดและปัจจัยการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
น.ส.ปรัชวัน อ่อนคง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 20/2/2561 15:24:18
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2560  ถึง  30/09/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  500  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร และผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารอินทรีย์จังหวัดเชียงใหม่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 2561 1,324,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. แสงเดือน  อินชนบท
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.4 พัฒนาโครงการบริการวิชาการที่มีการบูรณาการศาสตร์พระราชา และเกษตรอินทรีย์ เพื่อสร้างสังคมเชิงนิเวศต้นแบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พืชผักเป็นพืชอาหารที่คนไทยนิยมนำมาใช้รับประทานกันมากเนื่องจากมีคุณค่าทางอาหารทั้งวิตามินและแร่ธาตุต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายสูง แต่ค่านิยมในการบริโภคผักของคนทั่วไป มักจะเลือกบริโภคผักที่สวยงามไม่มีร่องรอยการทำลายของศัตรูพืชไม่ว่าจะเป็น โรคต่างๆ หนอน แมลงต่างๆ จึงทำให้เกษตรกรที่ปลูกผักจะต้องใช้สารเคมีป้องกันและกำจัดโรค แมลงฉีดพ่นในปริมาณที่มาก เพื่อให้ได้ผักที่สวยงามตามความต้องการของตลาด แต่เมื่อผู้ซื้อนำมาบริโภคแล้วอาจได้รับอันตรายจากสารพิษที่ตกค้างอยู่ในพืชผักนั้นได้ โดยสถิติของสำนักเศรษฐกิจการเกษตรพบว่าการนำเข้าวัตถุอันตรายทางการเกษตรมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ดังเช่นในปี 2553 มีปริมาณการนำเข้ามาใช้ภายในประเทศจำนวน 117,815 ตัน แต่ปี 2558 พบว่านำเข้าเป็นปริมาณ 149,546 ตัน เพิ่มขึ้น 31,731 ตัน คิดเป็นมูลค่า 19,326 ล้านบาท (http://www.oae.go.th/) ปัจจุบันจึงเห็นได้ว่าโรงพยาบาลต่างๆมีสถิติผู้ป่วยที่เกิดจากการใช้ในสารเคมีทางการเกษตรและการบริโภคอาหารที่ปนเปื้อนสารเคมีดังกล่าวเข้ารับการรักษาเป็นจำนวนสูงขึ้นทุกปี เมื่อปี 2558 รายงานโดยสำนักเศรษฐกิจการเกษตรพบว่ามีการนำเข้าวัตถุอันตรายทางการเกษตรเป็นปริมาณ 149,546 ตัน โดยมีการเพิ่มขึ้นจากปี 2557 เป็นปริมาณถึง 2,171 ตัน คิดเป็นมูลค่า 19,326 ล้านบาท (http://www.oae.go.th/) ปัจจุบันจึงเห็นได้ว่าโรงพยาบาลต่างๆมีสถิติผู้ป่วยที่เกิดจากการใช้ในวัตถุอันตรายทางการเกษตรและการบริโภคอาหารที่ปนเปื้อนสารเคมีดังกล่าวเข้ารับการรักษาเป็นจำนวนสูงขึ้นทุกปี แม้ว่าปัญหาทางสุขภาพจากวัตถุอันตรายทางการเกษตรส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นกับเกษตรกรที่ได้รับพิษเฉียบพลัน แต่ภัยมืดที่อันตรายกว่าคือพิษสะสมจากการสัมผัสหรือได้รับสารเคมีอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นการใช้ การอยู่ใกล้พื้นที่เกษตรกรรมที่ใช้สารเคมีจำนวนมาก และการบริโภคอาหารที่มีสารเคมีตกค้าง ซึ่งส่งผลให้เกิดโรคเรื้อรัง เช่น มะเร็ง พาร์คินสัน หรือการพิการของทารกแรกเกิด เป็นต้น สถิติการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งเป็นอีกหนึ่งสัญญาณว่าสังคมไทยกำลังผจญกับความเสี่ยงด้านสารเคมีและมลพิษ (www.dmsc.moph.go.th/) ดังนั้นจึงควรมีการรณรงค์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร เปลี่ยนแปลงแนวคิดวิถีการผลิตให้ปลอดภัย โดยการหันมาปลูกพืชผักสดในแบบเกษตรอินทรีย์และการใช้ปัจจัยการผลิต เช่นสารชีวภัณฑ์ต่างๆที่ผลิตได้เองในพื้นที่เพื่อทดแทนการใช้สารเคมีสังเคราะห์ทางการเกษตร จากเหตุผลดังกล่าวจึงควรมีหน่วยสนับสนุนการเรียนรู้ด้านการผลิตผักสดแบบเกษตรอินทรีย์และการทำปัจจัยการผลิตโดยไม่พึ่งพาปัจจัยการผลิตจากภายนอกพื้นที่ ซึ่งจะช่วยให้ประหยัดต้นทุนการผลิต สามารถนำวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรกลับมาใช้ในพื้นที่ เช่นการนำมาทำปุ๋ยหมักอินทรีย์ น้ำหมักอินทรีย์ ฮอร์โมนต่างๆ ซึ่งนอกจากจะช่วยส่งเสริมให้ผู้ผลิตและผู้บริโภคได้มีสุขภาพที่ดี ได้รับประทานผักสดที่ปลอดภัย ยังช่วยลดต้นทุนการผลิต เพิ่มรายได้ให้ครอบครัว และมีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ของชุมชนให้น่าอยู่อย่างยั่งยืนตลอดไปซึ่งสอดคล้องกับแนวนโยบายของมหาวิทยาลัยแม่โจ้และของรัฐบาลในปัจจุบัน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาแหล่งบริการทางวิชาการด้านเทคโนโลยีการผลิตผักสดแบบเกษตรอินทรีย์
เพื่อพัฒนาแหล่งบริการทางวิชาการด้านเทคโนโลยีการทำปัจจัยการผลิตสำหรับใช้ในการผลิตพืชแบบเกษตรอินทรีย์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : กิจกรรมการเตรียมพื้นที่เพื่อการผลิตผักสด
KPI 1 : แหล่งเรียนรู้และบริการวิชาการด้านการผลิตผักสดและปัจจัยการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ไร่ 2
ผลผลิต : กิจกรรมการเพาะกล้าผักชนิดต่างๆ
KPI 1 : จำนวนชนิดผักสดที่ผลิต(หมุนเวียนตลอดปี)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ชนิด 20
ผลผลิต : กิจกรรมการทำปัจจัยการผลิตเพื่อใช้สนับสนุนการปลูกผักสด
KPI 1 : จำนวนปัจจัยการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ชนิด 5
ผลผลิต : กิจกรรมแปลงสาธิตการผลิตผักสดในระบบแปลงและในกระบะปลูก
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 2 : มีผู้เข้ามาเยี่ยมชมและรับบริการในพื้นที่โครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 500
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าเยี่ยมชมและรับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : กิจกรรมการเตรียมพื้นที่เพื่อการผลิตผักสด
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 : การเตรียมพื้นที่ เพื่อการผลิตผักสด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสงเดือน  อินชนบท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาตัดแต่งต้นไม้ กิ่งไม้ และกำจัดวัชพืช
ตัดแต่งต้นไม้ กิ่งไม้ กำจัดวัชพืชรอบพื้นที่แปลงปลูก 2 ไร่ x 7,500 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาขึ้นแปลงและปรับระดับแปลงปลูก
ขึ้นแปลงปลูกและปรับระดับแปลงให้ได้ขนาด (1.2 เมตร x 6.0 เมตร ) จำนวน 300 แปลง x 100 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาล้อมไม้ฟากรอบแปลงปลูก
ล้อมไม้ฟากให้ได้ขนาด (1.2 เมตร x 6.0 เมตร )รอบแปลงปลูกจำนวน 300 แปลง x 100 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาทำลวดเสียบผ้าพลาสติกคุมวัชพืช
งอลวดเสียบผ้าพลาสติกคุมวัชพืช 4,000 เส้น x 5บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาทำตอกเสียบพลาสติกคลุมแปลง
ทำตอกเสียบพลาสติกคลุมแปลง 2,000 มัด x 10 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างบริการสนับสนุนงานด้านการผลิตพืชโดยวิธี
เฉพาะเจาะจงวางแผนพื้นที่ปลูกและการผลิต
จำนวน 1 คน (15,000 บาท x 7 เดือน) เป็นเงิน 105,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 105,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างบริการสนับสนุนงานด้านการเกษตร จำนวน 2 คน
9000 บาท x 2 คน x 9 เดือน เป็นเงิน 162,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 162,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ ไม้ฟาก พลาสติกคลุมแปลง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 300,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้าง
เช่น ท่อพีวีซี ข้องอ ลวดดำ ลวดเสียบผ้าคลุมพลาสติก
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุโฆษณาและเผยแพร่
เช่น แผ่นพับ ถ่ายเอกสาร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว
เช่น มีด เข่ง ไม้กวาด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
เช่น กระดาษA4 , ฟิวเจอร์บอร์ด , ปากกา, ดินสอ, ถ่ายเอกสาร, ลิ้นชักพลาสติก
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 783000.00
ผลผลิต : กิจกรรมการเพาะกล้าผักชนิดต่างๆ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 : การเพาะกล้าผักชนิดต่างๆ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสงเดือน  อินชนบท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาผสมดินปลูกและหยอดเมล็ด
ผสมดินปลูกใส่ถาดเพาะและหยอดเมล็ดลงในถาดเพาะจำนวน 500 ถาด x 50 บาท เป็นเงิน 25,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 25,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
เช่น วัสดุเพาะ ถาดเพาะ ตาข่ายพลางแสง ขุยมะพร้าว
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้าง
เช่น สายยางเขียว ฝักบัวสแตนเลส กิ๊บล็อค
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 70000.00
ผลผลิต : กิจกรรมการทำปัจจัยการผลิตเพื่อใช้สนับสนุนการปลูกผักสด
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 : การทำปัจจัยการผลิตเพื่อการผลิตผัก

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสงเดือน  อินชนบท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
วัสดุเกษตร
เช่น เมล็ดถั่วเหลือง รำละเอียด น้ำตาลทราย กากเห็ด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 115,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
วัสดุก่อสร้าง
เช่น ข้อต่อ ข้องอ ถัง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 120000.00
ผลผลิต : กิจกรรมแปลงสาธิตการผลิตผักสดในระบบแปลงและในกระบะปลูก
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 4 : แปลงสาธิตการผลิตผักในระบบแปลงและในกระบะยกพื้น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสงเดือน  อินชนบท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาโค้งท่อพีวีซี (ยาว 3 เมตร)
จำนวน 400 ชิ้น x 30 บาทเป็นเงิน 12,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาตัดลวดยึดท่อ (ยาว 0.5 เมตร)
จำนวน 1,000 ชิ้น x 15 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
เช่น เมล็ดพันธุ์ผัก ชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดโรคแมลง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 300,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้าง
เช่น ตลับเมตร หัวน้ำหยด เลื่อย ใบเลื่อย ถังปูน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 351000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
อาจมีผลผลิตเสียหายเนื่องจากมีโรคหรือแมลงระบาด และอาจมีสภาพอากาศแปรปรวน ซึ่งทำให้ได้ผลผลิตไม่เป็นไปตามที่คาดหมาย
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ทำการปลูกในโรงเรือนที่ปลอดภัย เพื่อลดปัญหาดังกล่าวข้างต้น
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล