12358 : โครงการเปิดบ้านมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ครั้งที่ 1
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
น.ส.มินทร์ลดา บัวแสง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 15/3/2561 11:18:21
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2560  ถึง  30/09/2561
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  229  คน
รายละเอียด  กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 229 คน ประกอบด้วย 1. จำนวนนักเรียน นักศึกษา ในจังหวัดชุมพร 130 คน 2. จำนวนปราชญ์ชาวบ้าน และเกษตรกรทั่วไป จำนวน 39 คน 3. อาจารย์และบุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร จำนวน 60 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ใช้เงินยุทธศาสตร์ที่ 4 (โครงการตามภารกิจพัฒนางานเดิม) 2561 94,350.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ชัยวิชิต  เพชรศิลา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. บุญศิลป์  จิตตะประพันธ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.4 พัฒนาโครงการบริการวิชาการที่มีการบูรณาการศาสตร์พระราชา และเกษตรอินทรีย์ เพื่อสร้างสังคมเชิงนิเวศต้นแบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.เป็นศูนย์บริการวิชาการที่มีความเป็นเลิศด้านสหวิทยาการเกษตรเพื่อการพึ่งพาตนเอง
เป้าประสงค์ 1.การพัฒนาศูนย์บริการสหวิทยาการเกษตร
ตัวชี้วัด 1 จำนวนศูนย์บริการวิชาการ (1 ศูนย์)
กลยุทธ์ 1.ตั้งศูนย์บริการวิชาการ
ตัวชี้วัด 1 จำนวนฐานการเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนา
กลยุทธ์ 1.การพัฒนาฐานการเรียนรู้ที่ศักยภาพให้พร้อมต่อการบริการวิชาการและสร้างรายได้
ตัวชี้วัด 1 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อโครงการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 1.บูรณาการงานวิจัยและบริการวิชาการให้สอดคล้องกับความต้องการของภูมิภาค
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาล ที่มีหน้าที่ในการเปิดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแก่ชุมชน และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ให้ครบทั้ง 4 ประการ โดยมีเป้าหมายเดียวกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ในการก้าวไปสู่แม่โจ้ 100 ปีในปี พ.ศ 2578 อีก 17 ปีข้างหน้าที่จะก้าวไป Green University และไปสู่ ECO เป็นเป้าหมายที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ต้องก้าวไปพร้อม ๆ กันทั้ง 3 แห่ง และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ได้ผลิตบันทิตที่มีคุณภาพสู่สังคมได้มายาวนานกว่าสิบปีเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางทั่วไปในภาคใต้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร มีภารกิจบทบาท หน้าที่ในการดำเนินงานทั้ง 4 ด้านแล้ว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ยังมีฐานการเรียนรู้ที่หลากหลายและมีชีวิตที่สามารถรองรับการบริการวิชาการแก่ นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร และประชาชนทั่วไปที่สนใจเข้ารับการบริการวิชาการในเรียนรู้นอกห้องคู่กับการปฎิบัติจริงเพื่อให้เกิดความรู้และความชำนาญทั้งทฤษฎี และปฎิบัติ ดังนั้นเพื่อให้ นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร และประชาชนทั่วไปได้รู้จักมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ให้มากขึ้น จึงได้จัดโครงการ “เปิดบ้านแม่โจ้-ชุมพร” เพื่อประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น และเพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่รองรับการเข้าศึกษาต่อจากนักเรียนมัธยมชั้นปีที่ 6 ที่จบการศึกษา ตลอดจนการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับ ชุมชน เกษตรกร และประชาชนทั่วไปที่เข้ารับการบริการวิชาการสามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ และก่อให้เกิดรายได้แก่ครัวเรือนได้ โดยเป็นมิตร และไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยและสาขาวิชาที่เปิดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัมแม่โจ้-ชุมพร ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น
2.เพื่อบริการวิชาการฐานการเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร แก่ประชาชน เกษตรกร และประชาชนทั่วไปที่สนใจ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรเป็นที่รู้จักของบุคคลทั่วไปในด้านการศึกษาและด้านบริการวิชาการ
KPI 1 : -จำนวนฐานการเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ฐาน 7
KPI 2 : -ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 3 : -ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 4 : -ร้อยละของผู้เข้ารับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับการบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 5 : -ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 6 : -จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 229
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรเป็นที่รู้จักของบุคคลทั่วไปในด้านการศึกษาและด้านบริการวิชาการ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม
1.จัดประชาสัมพันธ์หลักสูตร ทั้ง 5 หลักสูตร
2.จัดกิจกรรมเล่นเกมส์ให้ความรู้และตอบคำถามเพื่อชิงรางวัล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.ศิริมาศ  เจี้ยมกลิ่น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางพรลภัส  พงษ์พานิช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วีรภรณ์  โตคีรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.จิรภรณ์  ใจอ่อน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ฉันทวรรณ  เอ้งฉ้วน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายชัยวิชิต  เพชรศิลา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.อนิรุต  หนูปลอด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุทธิรักษ์  ผลเจริญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล  พิมลรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 229 คน มื้อ ๆ ละ 1 มื้อๆละ 70 บาท เป็นเงิน 16,030 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 229 คน ๆละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 11,450 บาท
-ค่าจัดทำเอกสารประชาสัมพันธ์หลักสูตรมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร จำนวน 500 เล่ม ๆละ 75 บาท เป็นเงิน 37,500 บาท
-ค่าเช่าเต้นท์ จำนวน 5 หลัง ๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
-ค่าเช่าเครื่องเสียง เป็นเงิน 2,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 73,780.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
-ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ (ป้ายไวนิล) ขนาด 2*4 เมตร จำนวน 5 หลักสูตร ๆละ 1 ป้าย ๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 78780.00
ชื่อกิจกรรม :
3.จัดกลุ่มเข้าฐานบริการวิชาการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2560 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.ศิริมาศ  เจี้ยมกลิ่น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางพรลภัส  พงษ์พานิช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วีรภรณ์  โตคีรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.จิรภรณ์  ใจอ่อน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ฉันทวรรณ  เอ้งฉ้วน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายชัยวิชิต  เพชรศิลา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.อนิรุต  หนูปลอด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุทธิรักษ์  ผลเจริญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล  พิมลรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
-ค่าต้นกล้วยไม้ จำนวน 150 ต้น ๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
-ค่าฟางข้าวอัดก้อน จำนวน 51 ก้อน ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 3,570 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,570.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 15570.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล