12636 : โครงการเตรียมพร้อมนักศึกษาสู่เส้นทางนักพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวระดับนานาชาติ ภาคการศึกษาที่ 1/2561
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางดวงใจ ไพพงค์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/7/2561 11:38:55
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
25/07/2561  ถึง  09/10/2561
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  400  คน
รายละเอียด  นักศึกษาคณะพัฒนาการท่องเที่ยว
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะพัฒนาการท่องเที่ยว หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากเงินรายได้ค่าลงทะเบียน (ค่าลงทะเบียนฝึกอบรมคนละ 6,000 บาทต่อคน) 2561 2,400,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. กีรติ  ตระการศิริวานิช
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะพัฒนาการท่องเที่ยว
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 61-64MJU 1.1 นักศึกษามีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 61MJU1.1.1 ร้อยละของนักศึกษาที่มีผลการสอบ CEFR ตั้งแต่ระดับ B1 ขึ้นไป
กลยุทธ์ 61-64MJU 1.1.1 พัฒนานักศึกษาให้มีสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษในระดับมาตรฐานของอุดมศึกษา
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.การผลิตบัณฑิตที่เป็นนักปฏิบัติ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชา และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล
เป้าประสงค์ TDS1.1 นักศึกษามีสมรรถนะในระดับสากล (61)
ตัวชี้วัด TDS1.1.2 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาของหลักสูตร (61)
กลยุทธ์ TDS พัฒนาและสนับสนุนนักศึกษาให้สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนด (61)
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ TDS61ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ TDS1.4 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย (61)
ตัวชี้วัด TDS1.5.3 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนานักศึกษา 5 ด้านตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ก่อนสำเร็จการศึกษา (61)
กลยุทธ์ TDS จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เอื้อต่อการพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ด้านการพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียนของมหาวิทยาลัย (61)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

คณะพัฒนาการท่องเที่ยวให้ความสำคัญกับนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการที่ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตกำลังคนที่ตอบสนองความต้องการอุตสาหกรรมเป้าหมาย ซึ่งอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมายตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และสอดคล้องกับการสำรวจความต้องการแรงงานในกลุ่ม 10 สาขาอุตสาหกรรมเป้าหมาย (S-Curve) ปี 2560 - 2564 พบว่า มีความต้องการแรงงานภาพรวมเฉลี่ย 69,242 คนต่อปี โดยอุตสาหกรรมที่มีความต้องการแรงงานมากที่สุด ได้แก่ การท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ซึ่งนับว่าเป็นโอกาสที่ดีสำหรับผู้ที่กำลังศึกษาในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของตลาดดังกล่าว แต่สิ่งหนึ่งที่ต้องพิจารณาควบคู่กันคือ ความพร้อมของบัณฑิตในการประกอบอาชีพภายหลังสำเร็จการศึกษาซึ่งพบว่าบัณฑิตส่วนใหญ่ยังไม่สามารถทำงานได้ตามที่ผู้ประกอบการคาดหวังและจำเป็นต้องมีการฝึกอบรมเป็นระยะเวลานานก่อนจะทำงานได้จริง สำหรับการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพตรงตามความต้องการของผู้ประกอบการอย่างแท้จริง จำเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมเป็นเวลานานเพื่อให้บัณฑิตเกิดทักษะการทำงานตอบสนองความต้องการของผู้ประกอบการอย่างทันสถานการณ์ ตลอดจนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวได้อย่างโดดเด่น มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในวิชาการและวิชาชีพ ตามการจัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะ (Competence-based Approach) โดยการกำหนดผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes/ Course Outcomes) อย่างชัดเจนซึ่งสมรรถนะที่กำหนดขึ้นจะมีความสอดคล้องกับตำแหน่งงานด้านการท่องเที่ยวที่คาดหวังว่าผู้เรียนจะสามารถปฎิบัติได้เมื่อจบการศึกษา ควบคู่กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประกอบด้วยสื่อการเรียนการสอนที่หลากหลายและอุปกรณ์ที่จะช่วยให้ผู้เรียนปฏิบัติภาระงานได้สำเร็จตามสมรรถนะที่กำหนด เน้นกระบวนการเรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) แก่ผู้เรียนเป็นระยะ เพื่อให้ผู้เรียนได้ปรับปรุงแก้ไขการปฎิบิตงานให้ได้ตามเกณฑ์ ตลอดจนการให้เวลาผู้เรียนที่เพียงพอต่อการทำภาระงานหนึ่งๆ ดังนั้นคณะพัฒนาการท่องเที่ยวจึงขอเสนอโครงการเตรียมพร้อมนักศึกษาสู่เส้นทางนักพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวระดับนานาชาติเพื่อตอบสนองต่อยุทธศาสตร์และนโยบายของชาติและมหาวิทยาลัย โดยพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนด้านวิชาชีพทางการท่องเที่ยวควบคู่กับการเสริมทักษะภาษาต่างประเทศ ให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานอาชีพในระดับอาเซียน อีกทั้งเป็นการส่งเสริมการวางรากฐานที่ดีในการเรียนรู้ผ่านการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) ในคราวเดียวกัน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาหลักสูตรมุ่งการเรียนตามวิชาชีพเฉพาะด้านการท่องเที่ยวที่สามารถเทียบสมรรถนะตามมาตรฐานสากลได้
เพื่อผลิตนักศึกษาที่ผ่านการฝึกอบรมเสริมสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวตามมาตรฐานสากล
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาคณะพัฒนาการท่องเที่ยวที่สอบผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนดและมีสมรรถนภาษาอังกฤษตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
KPI 1 : ร้อยละของจำนวนนักศึกษาที่สอบผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 2 : จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 400
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาคณะพัฒนาการท่องเที่ยวที่สอบผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนดและมีสมรรถนภาษาอังกฤษตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ชื่อกิจกรรม :
ฝึกอบรมเตรียมความพร้อมนักศึกษาสู่เส้นทางนักพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวระดับนานาชาติ (Preparatory Course for International Tourism, Development Practitioner : iTDP)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 25/07/2561 - 09/10/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.กีรติ  ตระการศิริวานิช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดฝึกอบรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,810,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 400 คน x 30 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศ จำนวน 20,000 บาท x 3 เดือน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนคณะ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 222,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 600 บาท x 6 ชั่วโมง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
ค่าไปรษณียภัณฑ์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
ค่าสาธารณูปโภค 10%
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 240,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 2400000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล