12653 : อบรมความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์และการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
นางนพนิตย์ วงศ์สุ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 5/7/2561 13:53:49
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการขับเคลื่อนตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏับัติราชการ(incentive)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
05/07/2561  ถึง  31/08/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  เกษตรกรผู้ทำเกษตรอินทรีย์และประชาชนผู้สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2561 10,100.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กัญญ์พัสวี  กล่อมธงเจริญ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.1 ร้อยละของงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA61-3 การบริการวิชาการเพื่อพัฒนาชุมชน สังคม
เป้าประสงค์ BA61-G8 มีหลักสูตรจัดโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน สังคม เป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด BA61- KPI-16 จำนวนหลักสูตรที่จัดโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน สังคม และก่อให้เกิดรายได้จากการบริการวิชาการ (P.1)
กลยุทธ์ BA61-S8 ส่งเสริมให้หลักสูตรจัดโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน สังคมเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
เป้าประสงค์ BA61-G9 มีหลักสูตรระยะสั้นเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน และสังคม
ตัวชี้วัด BA61- KPI-17 จำนวนหลักสูตรระยะสั้นเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน และสังคม (P.5)
กลยุทธ์ BA61-S9 สร้างหลักสูตรระยะสั้นเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน และสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันนี้ผลผลิตจากเกษตรอินทรีย์เป็นที่สนใจอย่างมากในกลุ่มผู้บริโภคที่รักสุขภาพและประชาชนทั่วไป ทำให้เกษตรกรหันมาทำเกษตรอินทรีย์มากขึ้น ซึ่งการทำเกษตรอินทรีย์ที่ได้รับการรับรองมารตรฐานอินทรีย์จากหน่วยงานที่ตรวจรับรองเกษตรอินทรีย์นั้น มีกระบวนการบริหารจัดการที่ค่อนข้างยาก และใช้เวลานาน ซึ่งคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีพันธกิจในด้านการเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านบริหารธุรกิจ และธุรกิจเกษตร และให้บริการเชิงวิชาการ โดยมุ่งเน้นการถ่ายทอดความรู้ และเสริมสร้างศักยภาพในการดำเนินงานตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน สังคม และประเทศ และที่ผ่านมา คณะบริหารธุรกิจได้จัดฝึกอบรมและให้บริการวิชาการทางด้านการบริหารธุรกิจแก่ชุมชนและเกษตรกร สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ทางวิชาการด้านบริหารธุรกิจ โดยการส่งเสริม สนับสนุน และเผยแพร่ผลงานทางวิชาการโดยเสมอมา จึงเห็นสมควรจัดโครงการอบรมความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์และการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เพื่อสร้างความรู้ แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้องในการทำเกษตรอินรีย์ให้กับเกษตรกรและสร้างความรู้ในการพัฒนาเกษตรอินทรีย์สู่การได้รับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรผู้ทำเกษตรอินทรีย์และประชาชนผู้สนใจ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เกษตรกรได้รับความรู้ แนวทางที่ถูกต้องในการทำเกษตรอินทรีย์
เกษตรกรได้รับความรู้ในการพัฒนาเกษตรอินทรีย์สู่การได้รับรองมาตรฐานอินทรีย์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกษตรกรอินทรีย์ที่ผ่านการอบรมและสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้
KPI 1 : ความรู้ที่ได้รับสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 30
KPI 3 : ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกษตรกรอินทรีย์ที่ผ่านการอบรมและสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้
ชื่อกิจกรรม :
อบรมความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์และการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/07/2561 - 31/08/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางอาบทิพย์  กาญจนวงศ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัญญ์พัสวี  กล่อมธงเจริญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายณัฐกุล  วงศ์กา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คนๆละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 1,500 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คนๆละ 130 บาท 3,900 บาท
ทั้งนี้ขอเบิกเพียง 5,300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1.ค่าตอบแทนวิทยากร
-จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 1,200 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
-จำนวน 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10100.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล