12663 : โครงการบริการวิชาการภาษาอังกฤษสู่ชุมชนพวกแต้ม
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
อาจารย์วัชรียา บำรุงคีรี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 16/7/2561 15:53:40
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
16/07/2561  ถึง  22/09/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  15  คน
รายละเอียด  ชาวบ้านชุมชนวัดพวกแต้ม ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่ใช้งบประมาณ 2561 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ วัชรียา  บำรุงคีรี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA-61ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริการวิชาการที่เพิ่มศักยภาพในการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตของท้องถิ่นชุมชนและสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ
เป้าประสงค์ LA-61เป้าประสงค์ที่4.1 การบริการวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่พัฒนาและตอบสนองความต้องการของชุมชน
ตัวชี้วัด LA61-4.2 จำนวนโครงการ/กิจกรรมที่บูรณาการการบริการวิชาการกับการวิจัยหรือการเรียนการสอน
กลยุทธ์ LA-61-4.2 ส่งเสริมให้การบริการวิชาการมีการบูรณาการด้านการเรียน การวิจัย และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ชุมชนพวกแต้ม ตั้งอยู่ในตำบลพระสิงห์ ภายในเขตคูเมืองชั้นในของเมืองเชียงใหม่ เป็นชุมชนเล็กๆ ที่สืบทอดภูมิปัญญาสล่าทำเครื่องทองโลหะ หรือที่คนพื้นเมืองเรียกว่า 'คัวตอง' มาหลายศตวรรษ ฉัตรสีทองที่เห็นอยู่ตามวัดในเมืองเชียงใหม่และแห่งอื่นๆ ในภาคเหนือ แทบทั้งหมดก็ล้วนมาจากสล่าฝีมือดีในชุมชนแห่งนี้ ปัจจุบันชุมชนพวกแต้มได้เป็นส่วนหนึ่งในการเผยแพร่ความรู้ทางงานคัวตอง การเสนอรูปแบบและวิธีการของการจัดการอนุรักษ์ และพัฒนางานคัวตอง โดยมีการทดลองจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ “พวกแต้ม คัวตอง” โดยการพัฒนาสถานที่ภายในวัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรมให้กับคนในชุมชน และผู้ที่มาศึกษาจากภายนอก นอกจากนี้ทำการพัฒนางานคัวตองในรูปแบบร่วมสมัย สามารถพัฒนาให้เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เกิดการเพิ่มมูลค่าของงานคัวตองของชุมชน และจัดกิจกรรมรณรงค์ร่วมกับชุมชน เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการกระจายองค์ความรู้สู่สาธารณะ เป็นการสร้างความแข็งแกร่งทางภูมิปัญญา ซึ่งชุมชนสามารถต่อยอดโดยการนำองค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ไปถ่ายทอดยังชุมชนอื่นอย่างต่อเนื่อง ถือว่าเป็นกระบวนการพัฒนาองค์ความรู้ เรื่องคัวตอง และการอนุรักษ์มรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชุมชนวัดพวกแต้ม ให้ยั่งยืนต่อไปในอนาคต ด้วยที่ตั้งของชุมชนและงานหัตกรรมที่โดดเด่น จึงมีนักท่องเที่ยวจำนวนมากเดินทางเข้ามาในชุมชน ทางชุมชนมีความต้องการที่จะสอนเวิร์คช็อปการทำหัตกรรมและการทำอาหารพื้นเมืองให้กับนักท่องเที่ยว และต้องการที่จะสื่อสารกับนักท่องเที่ยวที่เดินเข้ามาท่องเที่ยวในชุมชน อย่างไรก็ตาม ทางชุมชนขาดแคลนบุคลากรที่จะสอนและสนทนาภาษาอังกฤษได้ คณะศิลปศาสตร์ซึ่งมีบุคลากรทางด้านการสอนภาษาอังกฤษ จึงได้จัดโครงการบริการวิชาการภาษาอังกฤษสู่ชุมชนพวกแต้ม เพื่อให้คณาจารย์ได้มีโอกาสใช้ความรู้ทางภาษาเพื่อเป็นประโยชน์ต่อชุมชน นอกจากนั้นทางชุมชนยังมีความต้องการพัฒนาทางด้านภาษาอังกฤษเพื่อจัดทำข้อมูลของชุมชนเป็นภาษอังกฤษ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลในพิพิธภันฑ์และป้ายต่างๆ ซึ่งทางคณะศิลปศาสตร์จะได้ต่อยอดจัดทำเป็นโครงการต่อๆไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสร้างเอกสารการสอนภาษาอังกฤษสนทนาและภาษาอังกฤษเพื่อการทำเวิร์คช็อปงานหัตถกรรม
2. เพื่อสอนภาษาอังกฤษสนทนาและภาษาอังกฤษเพื่อการทำเวิร์คช็อปงานหัตถกรรม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1. เอกสารการสอนภาษาอังกฤษสนทนาและภาษาอังกฤษเพื่อการทำเวิร์คช็อปงานหัตถกรรม
KPI 1 : เอกสารการสอนภาษาอังกฤษสนทนาและภาษาอังกฤษเพื่อการทำเวิร์คช็อปงานหัตถกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 เล่ม 1
ผลผลิต : 2. ความพึงพอใจของผู่รับบริการวิชาการ
KPI 1 : ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมโครงการได้นำความรู้ที่เข้ารับการอบรมไปใช้ประโยชน์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 50
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1. เอกสารการสอนภาษาอังกฤษสนทนาและภาษาอังกฤษเพื่อการทำเวิร์คช็อปงานหัตถกรรม
ผลผลิต : 2. ความพึงพอใจของผู่รับบริการวิชาการ
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล