12704 : โครงการพัฒนาเกษตรล้านนา(เกษตรทฤษฎีใหม่) 35 ไร่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
ว่าที่ ร.ต.สมบูรณ์ ระดม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 24/7/2561 8:47:01
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย(เบิกจ่ายจากงบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/08/2561  ถึง  31/12/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  1000  คน
รายละเอียด  เกษตรกร ประชาชนทั่วไป และนักเรียน นักศึกษา
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายงบประมาณเงินเหลือจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เงินรายได้ปรับครั้งที่ 1) ตั้งเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับขับเคลื่อนมหาาวิทยาลัยตามยุทธศาสตร์ ส่วนของโครงการ 35 ไร่ 2561 1,000,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ว่าที่ ร.ต. สมบูรณ์  ระดม
นาย ประสิทธิ์  กาบจันทร์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส61-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ วส61-2.3 เป็นแหล่งเรียนรุ้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเกษตรล้านนา เกษตรอินทรีย์ และเกษตรทฤษฎีใหม่ ตาม Roadmap การพัฒนามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด วส61-10. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนาและเกษตรทฤษฎีใหม่
กลยุทธ์ วส61-2.3.1 พัฒนาศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนดลยีด้านเกษตรล้านนา เกษตรอินทรีย์ และเกษตรทฤษฎีใหม่
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พื้นที่ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา มีพื้นที่โดยประมาณ 35 ไร่ เป็นพื้นที่เตรียมการสาธิตด้านเกษตรล้านนา และด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ มีการจำลองวิถีชีวิตเกษตรกรในอดีต ภูมิปัญญาเกษตรพื้นบ้านท้องถิ่น เพื่อใช้สำหรับประกอบกิจกรรมของศูนย์เรียนรู้ ให้แก่ นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร และผู้ที่สนใจเพื่อเข้าเยี่ยมชม ศึกษาวิถีชีวิตของคนล้านนา เป็นแหล่งการเรียนรู้วิถีชุมชนเกษตร วัฒนธรรมล้านนาและมหาวิทยาลัยมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้วิถีชุมชนเกษตรล้านนา ที่มีการถ่ายทอดองค์ความรู้วิถีชีวิตเกษตรล้านนา เช่น การอนุรักษ์ดินและน้ำ การปลูกข้าว การใช้สัตว์ไถนา วิถีชีวิตเกษตรอินทรีย์ ปุ๋ยหมัก การเลี้ยงสัตว์ โค กระบือ สุกร ไก่ การประมง การปลูกพืชสมุนไพร พืชไร่ พืชสวนและผลไม้ มุ่งหวังที่จะสร้างงานพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเกษตรล้านนา สนับสนุนให้พิพิธภัณฑ์การเกษตรท้องถิ่น สามารถเป็นองค์กร ที่ทำหน้าที่เป็นคลังความรู้ของนักศึกษา ชุมชน สร้างจิตสำนึกร่วมกันให้เกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตน และเป็นเวทีให้คนในท้องถิ่นถ่ายทอดประวัติศาสตร์ วิถีชีวิต ความต้องการให้แก่คนรุ่นใหม่ได้ศึกษา รวมถึงสนับสนุนให้เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิตสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์จริง เกิดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ในชุมชนที่สามารถเลี้ยงตนเองได้ในวิถีเกษตรล้านนาอย่างแท้จริง พื้นที่ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีการจำลองกลุ่มบ้านและคอกสัตว์ของคนล้านนาในสมัยก่อน ถูกสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2555 ซึ่งปัจจุบันมีการผุพังตามกาลเวลาของวัสดุที่ใช้ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการปรับปรุงและพัฒนา เพื่อส่งเสริมกิจกรรมในงานเกษตรแม้โจ้ 85 ปี : ภูมิปัญญาแห่งการเกษตร เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ และสนับสนุนการเรียน การสอน การวิจัย การสืบสานพระราชปณิธานให้ต่อเนื่องและมีความยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมบ้านล้านนา ในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา
2. เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมคอกเลี้ยงสัตว์ ในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา
3. เพื่อสนองและสืบสานแนวพระราชดำริด้านเกษตรทฤษฎีใหม่
4. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และฝึกทักษะด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา
KPI 1 : จำนวนแหล่งเรียนรู้และฝึกทักษะด้านเกษตรทฤษฎใหม่ของมหาวิทยาลัย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 แห่ง 1
KPI 2 : จำนวนบ้านล้านนาที่ได้รับการปรับปรุงซ่อมแซม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 หลัง 5
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนคอกสัตว์ที่ได้รับการปรับปรุงซ่อมแซม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คอก 4
KPI 5 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจาการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 7 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการ และวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 8 : จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมนิทรรศการและศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 1000
KPI 9 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 บาท 1000000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา
ชื่อกิจกรรม :
1. การปรับปรุงซ่อมแซม
1.1 ปรับปรุงซ่อมแซมหลังคาบ้านล้านนา
1.2 ปรับปรุงโรงเรือนเลี้ยงสัตว์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2561 - 31/12/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ว่าที่ ร.ต.สมบูรณ์  ระดม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายลงทุน » ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
-ซ่อมแซมสิ่งก่อสร้างภายในโครงการพัฒนาเกษตรล้านนา(เกษตรทฤษฎีใหม่) 35 ไร่ ได้แก่
1. บ้านล้านนาไทยลื้อ 3 หลัง
2. บ้านล้านนาหลังเล็ก 1 หลัง
3. บ้านล้านนาไทยพื้นเมือง 1 หลัง
4. โรงเรือนสัตว์ 2 หลัง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 474,700.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 474700.00
ชื่อกิจกรรม :
2. การจัดทำแปลงสาธิตเกษตรทฤษฎีใหม่
2.1 การปลูกข้าว
2.2 การปลูกไม้ผล
2.3 การปลูกพืชผัก
2.4 การปลูกพืชสมุนไพร
2.5 การเลี้ยงปลาในกระชัง
2.6 การเลี้ยงสุกร
2.7 การผลิตปุ๋ยหมักและปุ๋ยน้ำชีวภาพ
2.8 ฐานเรียนรู้การเลี้ยงไก่พันธุ์พื้นเมือง
2.9 ฐานเรียนรู้การอนุรักษ์และรวบรวมพันธุ์กล้วย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2561 - 31/12/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายประสิทธิ์  กาบจันทร์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
- ปุ๋ยหมักแบบอัดเม็ด จำนวน 200 กระสอบๆ ละ 350 บาท
- ปุ๋ยอินทรีย์ จำนวน 95 กระสอบๆ ละ 80 บาท
- ปุ๋ยคอก(ขี้วัว) จำนวน 1,000 กระสอบๆ ละ 34 บาท
- ขุยมะพร้าว จำนวน 228 กระสอบๆ ละ 100 บาท
- กาบมะพร้าว จำนวน 325 กระสอบๆ ละ 80 บาท
- สแลนดำ จำนวน 10 ม้วนๆ ละ 1,800 บาท
- แกลบดำ(ขี้เถ้าแกลบ) จำนวน 13 ลำๆละ 3,000 บาท
- แกลบหยาบ จำนวน 10 ลำๆละ 2,500 บาท
- พลาสติกใส (ขนาด 4x100 เมตร) จำนวน 5 ม้วนๆ ละ 6,000 บาท
- พลาสติกดำคลุมแปลง (ขนาด 120x400 เมตร) จำนวน 10 ม้วนๆ ละ 1,000 บาท
- ดินดำ ขนาด 5 คิว จำนวน 8 ลำๆ ละ 2,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 300,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 300000.00
ชื่อกิจกรรม :
การดูแลสัตว์เลี้ยง และระบบน้ำของศูนย์เรียนรู้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2561 - 31/12/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ว่าที่ ร.ต.สมบูรณ์  ระดม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว
1. ถุงขยะดำ 30x40 นิ้ว จำนวน 100 กิโลกรัมๆ ละ 55 บาท
2. น้ำยาเช็ดกระจก จำนวน 2 แกลลอนๆ ละ 220 บาท
3. ถุงมือยางสีส้ม จำนวน 12 คู่ๆ ละ 25 บาท
4. ถุงมือผ้าแบบหนา จำนวน 24 คู่ๆ ละ 18 บาท
5. สก๊อตไบร์ท จำนวน 3 แผงๆ ละ 180 บาท
6. ไม้ปาดน้ำ ขนาด 15 นิ้ว จำนวน 4 อันๆ ละ 270 บาท
7. ถังดำหนาพร้อมฝาปิด ขนาด 100 ลิตร จำนวน 10 ใบๆ ละ 399 บาท
8. กะละมังสแตนแลส ขนาด 40 ซม. จำนวน 4 ใบๆ ละ 1,190 บาท
9. ถังขยะกลม ขนาด 13 ลิตร จำนวน 10 ใบๆ ละ 179 บาท
10. กระดาษชำระ (1แพ็ค/24ม้วน) จำนวน 2 แพ็คๆ ละ 319 บาท
11. ฝอยขัดหม้อ จำนวน 1 โหลๆ ละ 180 บาท
12. น้ำยาล้างจาน จำนวน 2 แกลลอนๆ ละ 175 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุก่อสร้าง
1. ท่อพีวีซี 2 นิ้ว แบบหนา จำนวน 20 เส้นๆ ละ 260 บาท
2. ท่อพีวีซี 1.5 นิ้ว แบบหนา จำนวน 10 เส้นๆ ละ 170 บาท
3. ท่อพีวีซี 6 หุน(3/4 นิ้ว) แบบหนา จำนวน 25 เส้นๆ ละ 64 บาท
4. ท่อพีวีซี 0.5 นิ้ว แบบหนา จำนวน 20 เส้นๆ ละ 53 บาท
5. ข้องอ 2 นิ้ว แบบหนา จำนวน 20 ตัวๆ ละ 30 บาท
6. ข้อต่อตรง 2 นิ้ว แบบหนา จำนวน 8 ตัวๆ ละ 20 บาท
7. เกลียวนอก 2 นิ้ว แบบหนา จำนวน 4 ตัวๆ ละ 20 บาท
8. เกลียวใน 2 นิ้ว แบบหนา จำนวน 4 ตัวๆ ละ 30 บาท
9. กาวท่อน้ำไทย ขนาด 250กรัม จำนวน 6 กระป๋องๆ ละ 140 บาท
10. หัวก๊อกสนาม จำนวน 20 ตัวๆ ละ 180 บาท
11. ข้องอ 6 หุน(3/4 นิ้ว)จำนวน 16 ตัวๆ ละ 5 บาท
12. ข้อต่อตรง 6 หุน(3/4 นิ้ว) จำนวน 40 ตัวๆ ละ 4 บาท
13. ข้อต่อสามทาง 6 หุน(3/4 นิ้ว) จำนวน 20 ตัวๆ ละ 40 บาท
14. ท่อบ่อซีเมนต์ ขนาด 50x80 ซม. จำนวน 20 บ่อๆ ละ 200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
1. แกลบดิบ จำนวน 10 ลำๆ ละ 2,500 บาท
2. แกลบดำ(ขี้เถ้าแกลบ) จำนวน 3 ลำๆ ละ 3,000 บาท
3. เปลือกถั่ว จำนวน 2 ลำๆ ละ 3,000 บาท
4. ดินดำ ขนาด 5 คิว จำนวน 10 ลำๆ ละ 2,200 บาท
5. อาหารปลาดุก จำนวน 48 กระสอบๆ ละ 350 บาท
6. อาหารหมูแรกเกิด จำนวน 50 กระสอบๆ ละ 500 บาท
7. อาหารหมูเล็ก จำนวน 40 กระสอบๆ ละ 500 บาท
8. อาหารไก่แรกเกิด จำนวน 30 กระสอบๆ ละ 530 บาท
9. อาการไก่เล็ก จำนวน 30 กระสอบๆ ละ 500 บาท
10. น้ำตาลทรายแดง(25 กก./กส.) จำนวน 30 กระสอบๆ ละ 620 บาท
11. เกลือทะเล(เกลือเม็ด) จำนวน 20 กระสอบๆ ละ 220 บาท
12. ปุ๋ยอินทรีย์ จำนวน 95 กระสอบๆ ละ 80บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 185,300.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 225300.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล