12798 : โครงการรักษ์คูคลอง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
อาจารย์พีรดา ประจงการ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 4/9/2561 10:24:17
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์ (Go Eco U.)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
04/09/2561  ถึง  30/09/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  150  คน
รายละเอียด  นักศึกษาในรายวิชาจิตวิทยากับพฤติกรรมมนุษย์ รายวิชาจิตวิทยาการปรับตัว รายวิชามนุษย์กับสิ่งแวดล้อม รายวิชาสังคมและวัฒนธรรมไทย และนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่มีการเบิกจ่ายงบประมาณ 2561 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ พีรดา  ประจงการ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 61-64MJU 1.4 ยกระดับ Green University ranking ด้านการศึกษา
ตัวชี้วัด 61MJU1.4.1 จำนวนรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนที่เปิดสอน (Green U KPI)
กลยุทธ์ 61-64MJU 1.4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดการเรียนการสอนด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA-61ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การผลิตบัณฑิต หลักสูตร และการพัฒนานักศึกษา
เป้าประสงค์ LA-61เป้าประสงค์ที่ 1.2 มีการจัดการเรียนการสอนด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์โดยส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัด LA61-1.4 ร้อยละความพึงพอใจของบัณฑิตต่อหลักสูตรและกิจกรรมที่เสริมสร้างทักษะชีวิตของหลักสูตรและคณะฯ
กลยุทธ์ LA-61-1.4 ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในอดีตแม่น้ำคูคลองมีความสำคัญต่อการตั้งถิ่นฐานและเป็นแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค การเกษตรกรรม การคมนาคม เป็นแหล่งผลิตอาหารและแหล่งกำเนิดศิลปวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตที่ผูกพันกับแม่น้ำคูคลอง แต่เมื่อเกิดการเปลี่ยนของสังคมและวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมให้กลายเป็นสังคมเมืองและการมีวิถีชีวิตสมัยใหม่ที่ลดความผูกพันของมนุษย์กับแม่น้ำคูคลอง ส่งผลทำให้แม่น้ำคูคลองมีความสำคัญลดน้อยลงไปเหลือไว้เพียงการทำหน้าที่รองรับการระบายน้ำฝนและน้ำเสีย อีกทั้งยังถูกทำลายด้วยการปลูกสร้างบ้านเรือนที่ลุกล้ำแม่น้ำคูคลองและการทิ้งขยะต่างๆ ลงในแม่น้ำคูคลอง ก่อเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและมลพิษทางน้ำ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการมุ่งใช้ประโยชน์จากแม่น้ำคูคลองที่ขาดจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อส่วนร่วม ด้วยเหตุนี้คณะรัฐมนตรีจึงมีมติให้วันที่ 20 กันยายนของทุกปีเป็นวันอนุรักษ์และพัฒนาแม่น้ำ คู คลองแห่งชาติ เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาสภาพแวดล้อมแม่น้ำคูคลอง การฟื้นฟูคุณภาพน้ำในคูคลอง การลดปัญหาความสกปรกจากน้ำทิ้งในบ้านเรือน ชุมชนริมคลอง โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการนี้จึงเห็นควรให้มีการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวและมหาวิทยาเชิงนิเวศ ด้วยการจัดให้มีโครงการรักษ์แม่น้ำคูคลอง เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสภาพปัญาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นกับแม่น้ำคูคลองและส่งเสริมการมีส่วนร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสภาพแวดล้อมแม่น้ำคูคลองให้แก่นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ซึ่งช่วยให้นักศึกษาเกิดจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมและพัฒนาเชาวน์ด้านสิ่งแวดล้อม รวมทั้งพัฒนาทักษะชีวิตและการปรับตัวเพื่อสร้างสมดุลชีวิตและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. ให้ความรู้เกี่ยวกับสภาพปัญหา สาเหตุ ผลกระทบและแนวทางอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟู แม่น้ำ คูคลอง
2. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ พัฒนา ฟิ้นฟู แม่น้ำ คู คลอง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจสภาพปัญหา สาเหตุ ผลกระทบและแนวทางอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟู แม่น้ำ คู คลอง
KPI 1 : ู้ผูัเข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจสภาพปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางการอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟู แม่น้ำ คู คลอง ผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้ความเข้าใจร้อยละ 80 ขึ้นไป
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
ผลผลิต : 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักและพึงพอใจต่อการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ พัฒนา ฟิ้นฟู แม่น้ำ คู คลอง
KPI 1 : ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความตระหนักและพึงพอใจต่อการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟู แม่น้ำ คู คลอง ในระดับมากขึ้นไป
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจสภาพปัญหา สาเหตุ ผลกระทบและแนวทางอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟู แม่น้ำ คู คลอง
ชื่อกิจกรรม :
1. กิจกรรมบรรยายให้ความรู้และการเกี่ยวกับสภาพปัญหา สาเหตุ ผลกระทบและแนวทางอนุรักษ์พัฒนาฟื้นฟูแม่น้ำคูคลอง และกรณีศึกษาปัญหาและการอนุรักษ์ฟื้นฟูคลองแม่ข่าของคนเชียงใหม่ ในวันเสาร์ที่ 15 กันยายน 2561 เวลา 9.00-12.00 น. ห้องสังคม 105

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/09/2561 - 15/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บังอร  ศิริสัญลักษณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวลักษณ์  ชายทวีป (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พีรดา  ประจงการ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่มีการเบิกจ่ายงบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ผลผลิต : 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักและพึงพอใจต่อการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ พัฒนา ฟิ้นฟู แม่น้ำ คู คลอง
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมอนุรักษ์คูคลอง โดยเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์คลองแม่ข่าของกลุ่มเครือข่ายฟื้นฟูรักษาคลองแม่ข่า ในวันอาทิตย์ที่ 22 กันยายน 2561 เวลา 9.00 น. เป็นต้นไป

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 22/09/2561 - 22/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บังอร  ศิริสัญลักษณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวลักษณ์  ชายทวีป (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พีรดา  ประจงการ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่มีการเบิกจ่ายงบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล