12933 : โครงการทัศนศึกษาเส้นทางการท่องเที่ยวมรดกภูมิปัญญาวัฒนธรรมล้านนา จังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
นางดวงใจ ไพพงค์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 8/10/2561 15:41:07
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/10/2561  ถึง  10/10/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  46  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะพัฒนาการท่องเที่ยว หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากแผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง: แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน กิจกรรมหลักจัดการเรียนการสอนด้านสังคมศาสตร์ ผลผลิตผู้สาเร็จการศึกษาด้านสังคมศาสตร์ แผนงานการเรียนการสอน งานจัดการศึกษาสาขาพัฒนาการท่องเที่ยว กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน 2562 13,800.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ อรุณโรจน์  พวงสุวรรณ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะพัฒนาการท่องเที่ยว
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ TDS62ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ TDS1.2 บัณฑิตมีสมรรถนะในระดับสากล (62)
ตัวชี้วัด TDS1.2.2 ร้อยละของบัณฑิตที่มีงานทำและศึกษาต่อภายในระยะเวลา 1 ปี (62)
กลยุทธ์ TDS1.2.2.1 ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนยุคใหม่และพร้อมก้าวสู่การปฏิบัติงานในระดับนานาชาติ (62)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การศึกษาด้านธุรกิจท่องเที่ยวนอกเนื้อจากเนื้อหาวิชาที่อยู่ภายในห้องเรียนแล้ว การศึกษาทรัพยาการท่องเที่ยว มรดกวัฒนธรรมทางการท่องเที่ยว หน่วยงานธุรกิจ หรือสถานประกอบการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจท่องเที่ยว ถือว่ามีความสำคัญที่ผู้เรียนจำเป็นที่จะต้องเรียนรู้ควบคู่กันในตลอดหลักสูตร ทั้งนี้ การศึกษาดูงานจากสถานที่จริง (Experience Based Learning) รวมถึงการถ่ายทอดประสบการณ์ที่เกี่ยวเนื่องกับทรัพยากรการท่องเที่ยว ยังเป็นส่วนเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวได้อีกทางหนึ่ง จังหวัดเชียงใหม่ถือเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญพร้อมประสบความสำเร็จในการบริหารจัดการการท่องเที่ยว การจัดการทรัพยากรทางการท่องเที่ยว การจัดกิจกรรมทางการท่องเที่ยว และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว อีกทั้ง ยังมีทรัพยากรการท่องเที่ยวทั้งทางธรรมชาติ และทรัพยากรการท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้นที่โดดเด่นในหลายพื้นที่ รวมถึงมีบุคลากรทางการท่องเที่ยวที่มีความเป็นมืออาชีพทั้งภาครัฐบาล และภาคเอกชน ที่มีความสามารถรองรับนักท่องเที่ยวอย่างมีเอกลักษณ์ คณะพัฒนาการท่องเที่ยว หลักสูตรการจัดการธุรกิจเที่ยว จึงตระหนักถึงความสำคัญของการเสริมสร้างประสบการณ์ให้นักศึกษา และหวังถึงการพัฒนาศักยภาพพร้อมการเปิดโลกทัศน์แก่นักศึกษาสาขาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวให้เพิ่มพูนยิ่งขึ้น ด้วยการนี้ คณะพัฒนาการท่องเที่ยว สาขาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว จึงจัดโครงการ “โครงการทัศนศึกษาเส้นทางการท่องเที่ยวมรดกภูมิปัญญาวัฒนธรรมล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ (กิจกรรมเสริมในรายวิชา) ธท 100 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ หลักสูตรการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว คณะพัฒนาการท่องเที่ยว” โดยมีความมุ่งหวังว่านักศึกษาจะได้รับความรู้ พร้อมกับสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนและทำงานได้ในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเสริมสร้างทักษะและความรู้ด้านการจัดการทัพยากรทางการท่องเที่ยว
เพื่อเสริมสร้างทักษะการให้บริการทางการท่องเที่ยว
เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐานบุคลากรทางการท่องเที่ยวแห่งอาเซียน
เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อการเป็นผู้ประกอบการทางการท่องเที่ยว
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ ด้านทรัพยากรทางการท่องเที่ยว ทักษะด้านการบริการทางการท่องเที่ยว
KPI 1 : ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านการทดสอบทักษะ ความรู้ ด้านทรัพยากรทางการท่องเที่ยว ทักษะด้านการบริการทางการท่องเที่ยว
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
ผลผลิต : เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐานบุคลากรทางการท่องเที่ยวแห่งอาเซียน และการเป็นผู้ประกอบการทางการท่องเที่ยว
KPI 1 : ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านการสร้างเจตคติที่ดีต่อสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐานบุคลากรทางการท่องเที่ยวแห่งอาเซียน และการเป็นผู้ประกอบการทางการท่องเที่ยว
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ ด้านทรัพยากรทางการท่องเที่ยว ทักษะด้านการบริการทางการท่องเที่ยว
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการทัศนศึกษาเส้นทางการท่องเที่ยวมรดกภูมิปัญญาวัฒนธรรมล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ (กิจกรรมเสริมในรายวิชา) ธท 100 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ หลักสูตรการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว คณะพัฒนาการท่องเที่ยว

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/10/2561 - 10/10/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์อรุณโรจน์  พวงสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารเย็น จำนวน 300 บาท x 46 คน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 13,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 13800.00
ผลผลิต : เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐานบุคลากรทางการท่องเที่ยวแห่งอาเซียน และการเป็นผู้ประกอบการทางการท่องเที่ยว
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
จานวนนักศึกษาไม่สอดคล้องกับจำนวนที่นั่งของรถบัสโดยสาร ทำให้เกิดต้นทุนในการเดินทางสูงกว่าที่ควรเป็น เช่น จานวนนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มี 46 คน แต่รถบัสโดยสารมีที่นั่งเพียง 42 ที่นั่ง ทำให้ทางสาขาต้องเช่ารถตู้เพิ่มเพื่อเดินทางไปพร้อมๆ กัน
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ควรมีการจัดวิทยากรให้ความรู้และทักษะด้านการเป็นมัคคุเทศก์ที่ดีแก่นักศึกษาแต่ละชั้นปีก่อนออกทัวร์ เช่น ประวัติความเป็นมา ความสาคัญ ประวัติศาสตร์ เป็นต้น
หลักสูตรฯ เช่ารถตู้เพิ่มเพื่อเดินทางไปพร้อมๆ กัน กรณีที่นักศึกษาเกินจำนวนที่นั่งในรถบัส
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล