12958 : โครงการพัฒนาและสร้างมูลค่าผลิตภัณฑ์ชีวภาพ (Bio-prodect)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรสุดา เผือกใจแผ้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 12/11/2561 22:03:03
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  1) เกษตรกรผู้ผลิตสตรอว์เบอร์รี 2) ประชาชนผู้สนใจ 3) นักศึกษาที่มุ่งหวังเป็นเกษตรกรรุ่นใหม่ใส่ใจเกษตรปลอดภัย
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2562 คณะผลิตกรรมการเกษตรแผนงาน ยุทธศาสตร์ แผนงานรอง แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน โครงการ โครงการพัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน กิจกรรมหลัก ดำเนินการพัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน แผนงาน บริการวิชาการแก่สังคม งาน บริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุน บริการวิชาการ งบ เงินอุดหนุน รายการ เงินอุดหนุนโครงการพัฒนาและสร้างมูลค่าผลิตภัณฑ์ชีวภาพ (Bio-product) 2562 1,250,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฉัตรสุดา  เผือกใจแผ้ว
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เจนจิรา  หม่องอ้น
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.2 จำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วมเครือข่ายเกษตรอินทรีย์มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการสร้างรายได้จากการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ62 ผก. 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 62 ผก. 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน ตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 62 ผก. 4.4 จำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วมเครือข่ายเกษตรอินทรีย์มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กลยุทธ์ 62 ผก. 4.4 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธ์ุ ศัตรูพืช มาตรฐาน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์มต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูปตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สตรอว์เบอร์รี เป็นพืชเศรษฐกิจที่นิยมปลูกกันมากในพื้นที่ภาคเหนือ ซึ่งมักประสบกับปัญหาเรื่องการเข้าทำลายของศัตรูพืชตลอดระยะการผลิต โดยเกษตรกรนิยมใช้สารเคมีเกษตรในการป้องกันกำจัดศัตรูพืช ทั้งปริมาณที่มากเกินอัตราแนะนำ และความถี่ในการใช้มากเกินความจำเป็น สอดคล้องกับรายงานของกรมวิชาการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจ ประเทศไทยมีการนำเข้าสารเคมีเกษตรเพิ่มมากขึ้นทุกปีทั้งด้านปริมาณและมูลค่า ซึ่งในปี พ.ศ. 2560 มีปริมาณการนำเข้ารวม 1.49 แสนตัน คิดเป็นมูลค่า 1.93 หมื่นล้านบาท นับว่ามากเป็นอันดับ 4 ของโลก ส่งผลให้ผลผลิตทางการเกษตรเกิดการปนเปื้อนของสารเคมีในปริมาณสูง โดยผลการตรวจวัดสารพิษกำจัดศัตรูพืชตกค้าง ประจำปี พ.ศ. 2560 ของเครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช (Thai – PAN) พบว่ามีสารพิษปนเปื้อนในผักตลาดสูงเกินมาตรฐานที่ว่าถึง 64 เปอร์เซ็นต์ ผักพื้นบ้าน 43 เปอร์เซ็นต์ และผลไม้ 33 เปอร์เซ็นต์ ในทางกลับกัน ปัจจุบันผู้บริโภคเล็งเห็นถึงความสำคัญต่อสุขภาพมากยิ่งขึ้น ทำให้ต้องมองหาผลิตผลที่มีความปลอดภัยต่อการปนเปื้อนของสารเคมีตกค้างทางการเกษตร จึงเป็นโอกาสดีของเกษตรกรผู้ปลูกพืชในระบบปลอดภัยและอินทรีย์ ในการจำหน่ายสินค้าและขยายช่องทางการตลาดไปยังผู้บริโภคกลุ่มอื่นอีกด้วย ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 ที่มุ่งส่งเสริมการเกษตรอินทรีย์ โดยเน้นนการผลิตพืชที่ไม่ใช้สารเคมี หรือการใช้สารเคมีในระดับที่ปลอดภัย แต่ทั้งนี้สารเคมีเกษตรป้องกันกำจัดศัตรูพืชบางกลุ่ม ยังไม่มีผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่สามารถเข้ามาทดแทนการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้ จึงทำให้กระบวนการผลิตพืชต้องพึ่งพาการใช้สารเคมีเกษตรอย่างต่อเนื่อง สะท้อนให้เห็นว่านโยบายการจัดการของภาครัฐยังไม่สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่าการกำหนดให้ลดการใช้สารเคมีเกษตรจะเป็นกลยุทธ์สำคัญในแผนพัฒนาและแผนยุทธศาสตร์ที่สำคัญต่าง ๆ อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนยุทธศาสตร์การจัดการสารเคมีแห่งชาติ และแผนการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้กำหนดแผนพัฒนามหาวิทยาลัย (Roadmap) ระยะเวลา 15 ปี ในทิศทางการส่งเสริมและการพัฒนาที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อมุ่งสู่การเป็น Organic - Green - และ Eco University และเพื่อให้การดำเนินงานสอดคล้องกับแผนพัฒนามาหวิทยาลัย ทางคณะทำงานซึ่งเป็นคณาจารย์ คณะผลิตกรรมการเกษตร ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยชีวิธี จึงได้ดำเนินโครงการพัฒนาและสร้างมูลค่าผลิตภัณฑ์ชีวภาพ (Bio-product) เพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่มีศักยภาพสูงในการควบคุมศัตรูพืชในกระบวนการผลิตสตรอว์เบอร์รี โดยผลิตภัณฑ์ชีวภาพนี้ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์ชีวภาพควบคุมโรคพืช ผลิตภัณฑ์ชีวภาพควบคุมแมลงศัตรูพืช และผลิตภัณฑ์ชีวภาพควบคุมวัชพืช ที่ผลิตจากจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ สารทุติยภูมิจากเชื้อจุลินทรีย์ และสารสกัดจากพืช นอกจากนี้ทางคณะทำงานยังเล็งเห็นถึงความสำคัญด้านการตลาดของพืชปลอดภัย จึงสนับสนุนการเพิ่มโอกาสและขยายช่องทางการตลาด เพื่อยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตรและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภค ว่าผลผลิตที่ได้ใช้ผลิตภัณฑ์ชีวภาพในการป้องกันกำจัดศัตรูพืชนั้น เป็นผลผลิตที่มีคุณภาพ และปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพสำหรับป้องกันกำจัดศัตรูพืชในการผลิตสตรอว์เบอร์รี
เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์ชีวภาพในกระบวนการผลิตสตรอว์เบอร์รี ทดแทนการใช้สารเคมีเกษตร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์ชีวภาพสำหรับป้องกันกำจัดโรคพืชของสตรอว์เบอร์รี 1 ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ชีวภาพสำหรับป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชของสตรอว์เบอร์รี 1 ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ชีวภาพสำหรับควบคุมวัชพืชในการปลูกสตรอว์เบอร์รี 1 ผลิตภัณฑ์
KPI 1 : ผลิตภัณฑ์ชีวภาพสำหรับป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชของสตรอว์เบอร์รี
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 2 : ดำเนินงานโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 3 : ผลิตภัณฑ์ชีวภาพสำหรับควบคุมวัชพืชในการปลูกสตรอว์เบอร์รี
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 4 : ใช้จ่ายงบประมาณเป็นไปตามแผนงานที่กำหนด
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 5 : ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายต่อผลิตภัณฑ์ชีวภาพ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ผลิตภัณฑ์ชีวภาพสำหรับป้องกันกำจัดโรคพืชของสตรอว์เบอร์รี
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์ชีวภาพสำหรับป้องกันกำจัดโรคพืชของสตรอว์เบอร์รี 1 ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ชีวภาพสำหรับป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชของสตรอว์เบอร์รี 1 ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ชีวภาพสำหรับควบคุมวัชพืชในการปลูกสตรอว์เบอร์รี 1 ผลิตภัณฑ์
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติงาน การติดตาม ประเมินผลและการการดำเนินงานโครงการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรสุดา  เผือกใจแผ้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจนจิรา  หม่องอ้น (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน (120 บาท x 1 มื้อ x 4 ครั้ง x 5 คน)
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (35 บาท x 2 มื้อ x 4 ครั้ง x 5 คน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
950.00 บาท 950.00 บาท 950.00 บาท 950.00 บาท 3,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำรูปเล่มรายงานความก้าวหน้าและรายงานฉบับสมบูรณ์
(10 เล่ม x 600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการผู้ประสานงานโครงการ (1 คน x 15,000 บาท x 9 เดือน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
30,000.00 บาท 45,000.00 บาท 45,000.00 บาท 15,000.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการช่วยปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี (1 คน x 15,000 บาท x 2 เดือน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
30,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
6,500.00 บาท 4,500.00 บาท 5,000.00 บาท 4,960.00 บาท 20,960.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้า
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,000.00 บาท 4,000.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
15,500.00 บาท 8,000.00 บาท 9,000.00 บาท 5,000.00 บาท 37,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 243260.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 1 การเก็บข้อมูลนอกพื้นที่ เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพในการป้องกันกำจัดศัตรูพืชของสตรอว์เบอร์รี

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรสุดา  เผือกใจแผ้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจนจิรา  หม่องอ้น (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยงคณะดำเนินงาน (พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่) (4 คน x 15 วัน x 144 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,304.00 บาท 5,184.00 บาท 1,152.00 บาท 0.00 บาท 8,640.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยงคณะดำเนินงาน (ต่างจังหวัด) (4 คน x 10 วัน x 240 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,920.00 บาท 7,680.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก (4 คน x 11 คืน x 500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
4,000.00 บาท 16,000.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 22,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมายานพาหนะพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (25 วัน x 2,800 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
16,800.00 บาท 47,600.00 บาท 5,600.00 บาท 0.00 บาท 70,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการจัดเตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อสาเหตุโรคพืชและจุลินทรีย์ปฏิปักษ์
(5 ชนิด x 3,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
15,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการเพาะเลี้ยงเชื้อสาเหตุโรคพืชและจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ (10 ชนิด x 2,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
20,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการเพาะเลี้ยงแมลงศัตรูพืช (3,500 ตัว x 5 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
17,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 17,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการสกัดสารพืช (5 ชนิด x 3,700 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
18,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 18,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการทดสอบประสิทธิภาพของจุลินทรีย์ปฏิปักษ์และสารสกัดพืชในการควบคุมศัตรูพืชในระดับห้องปฏิบัติการ (15 ตัวอย่าง x 3,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 45,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพ (6 ต้นแบบ x 15,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 90,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 90,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการทดสอบประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์ชีวภาพในระดับห้องปฏิบัติการ
(6 ต้นแบบ x 7,500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 45,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างบริการทดสอบประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์ชีวภาพในโรงเรือน
(3 ผลิตภัณฑ์ x 20,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาออกแบบบรรจุภัณฑ์และตราสัญลักษณ์ (3 ผลิตภัณฑ์ x 10,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำสติ๊กเกอร์ พิมพ์สี ขนาด 12 x 18 ซม. (200 แผ่น x 60 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,000.00 บาท 3,000.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้า
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
4,000.00 บาท 8,600.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 17,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุอุปกรณ์ทางการเกษตร / พืชตัวอย่าง-ทดสอบ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
15,000.00 บาท 50,000.00 บาท 15,500.00 บาท 15,000.00 บาท 95,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ / สารเคมี / ส่วนประกอบผลิตภัณฑ์ชีวภาพ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
99,400.00 บาท 145,000.00 บาท 40,000.00 บาท 118,500.00 บาท 402,900.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 987240.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 2 การประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ชีวภาพ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2562 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรสุดา  เผือกใจแผ้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจนจิรา  หม่องอ้น (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาออกแบบและจัดทำแผ่นพับ (100 ใบ x 20 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาออกแบบและจัดทำคู่มือผลิตภัณฑ์ชีวภาพ (100 เล่ม x 70 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาออกแบบและจัดทำโรลอัพ (roll up) (3 อัน x 3,500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,500.00 บาท 10,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 19500.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่ได้เชื้อจุลินทรีย์และสารสกัดพืชที่มีประสิทธิภาพในระดับสูง
ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ชีวภาพในแต่ละรอบการผลิตไม่คงที่
ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ชีวภาพไม่สอดคล้องกับผลการทดลองในห้องปฏิบัติการ
กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจผลิตภัณฑ์ชีวภาพน้อย
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
หาวิธีการให้เชื้อจุลินทรีย์และสารสกัดพืชมีประสิทธิภาพสูงมากขึ้น
จัดหาอุปกรณ์ที่สามารถควบคุมกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ให้มีความคงที่สม่ำเสมอ
เพิ่มสารชนิดอื่นเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ชีวภาพในสิ่งแวดล้อม
จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้มีความน่าสนใจมากขึ้น และเพิ่มช่องทางในสื่อออนไลน์
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล