13062 : โครงการปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อเป็นต้นพันธุ์ดีบริการให้แก่เกษตรกร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
นางรัตนา ศรีวิชัย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 23/11/2561 15:01:51
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  200  คน
รายละเอียด  เกษตรกร และผู้ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2562 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. วัชรินทร์  จันทวรรณ์
นาย เสกสรร  สงจันทึก
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส62-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ วส62-2.2 เป็นที่พึ่งของประชุาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน
ตัวชี้วัด วส62-9. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาชุมชนเป้าหมาย
กลยุทธ์ วส62-2.2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และนำไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันเกษตรกรและประชาชนทั่วไปให้ความสำคัญต่อการผลิตพืชในระบบเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการทำเกษตรอินทรีย์นั้นจุดเริ่มต้นที่สำคัญ คือเมล็ดพันธุ์พืชจะต้องผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์ แต่เมล็ดพันธุ์พืชที่มีจำหน่ายตามท้องตลาดทั่วไปนั้น ส่วนใหญ่ไม่ได้ผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์และมีข้อจำกัดเรื่องของพันธุ์ลูกผสมที่เกษตรกรไม่สามารถเก็บพันธุ์ดีไว้ใช้ต่อในฤดูกาลถัดไปได้ จำเป็นจะต้องซื้อเมล็ดพันธุ์ทุกรอบการผลิต ทำให้มีต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น และเมล็ดปนเปื้อนสารเคมี การผลิตพืชและบริโภคพืชผักที่มีสารปนเปื้อนสารเคมีจะก่อให้เกิดการสะสมสารเคมีในร่างกายและก่อให้เกิดปัญหาเรื่องสุขภาพ ซึ่งสารเคมีบางตัวแม้จะได้รับในปริมาณที่น้อย แต่หากได้รับอย่างต่อเนื่องและติดต่อกันเป็นเวลานานก็จะทำให้ร่างกายเกิดการเจ็บป่วย เกิดโรคต่างๆ เช่น อัมพฤต อัมพาตหรือโรคมะเร็ง เป็นต้น ตามที่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้กำหนดยุทธศาสตร์ มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์นั้น เพื่อเป็นการตอบสนองยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการสร้างและผลิตเมล็ดพันธุ์ดีในระบบเกษตรอินทรีย์เพื่อให้บริการแก่เกษตรกรและประชาชนผู้ที่สนใจได้รับเมล็ดพันธุ์พืชผักและข้าวโพดพันธุ์ดีเพื่อนำไปผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์และยังสามารถเก็บพันธุ์ไปใช้ต่อในฤดูกาลถัดไปได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อให้บริการเมล็ดพันธุ์พืชผัก (ถั่วฝักยาว กวางตุ้ง และพริกขี้หนู) และข้าวโพดให้แก่เกษตรกร
2 คัดเลือกพันธุ์ถั่วฝักยาว กวางตุ้ง และพริกขี้หนูในระบบเกษตรอินทรีย์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การคัดเลือกและผลิตเมล็ดพันธุ์พืชผักและข้าวโพด
KPI 1 : ร้อยละของการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 4 : จำนวนเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดที่ให้บริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิโลกรัม 30
KPI 5 : จำนวนพันธุ์พืชผักที่คัดเลือกและปลูกรักษาไว้ (ถั่วฝักยาว กวางตุ้ง พริกขี้หนู)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 สายพันธุ์ 3
KPI 6 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 200
KPI 7 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 บาท 100000
KPI 8 : จำนวนพันธุ์ข้าวโพดที่ปลูกรักษาไว้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 สายพันธุ์ 5
KPI 9 : จำนวนเมล็ดพันธุ์ผัก (ถั่วฝักยาว กวางตุ้ง พริกขี้หนู)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 กิโลกรัม 10
KPI 10 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การคัดเลือกและผลิตเมล็ดพันธุ์พืชผักและข้าวโพด
ชื่อกิจกรรม :
การคัดเลือกและผลิตเมล็ดพันธุ์พืชผักและข้าวโพด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายเสกสรร  สงจันทึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.วัชรินทร์  จันทวรรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาคนงานเกษตร จำนวน 1 คน x 6 เดือน x 7,500 บาท =45,000 บาท
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารเข้าเล่มรายงานจำนวน 4 เล่มๆ ละ 250 บาท = 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 46,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
เช่น พลาสติกคลุมแปลง เชือกป่าน ขี้วัว ถาดเพาะกล้า ตาข่ายไนลอน ตาข่ายพรางแสง (สแลน) อื่นๆ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 54,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1. โรคและแมลงที่เข้าทำลายพืช
2. สภาพอากาศที่มีความแปรปรวน เช่น มีฝนตกหนักหรือฝนทิ้งช่วง ซึ่งส่งผลกระทบต่อการปลูกพืช
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1. หมั่นตรวจสอบ โรคและแมลง รวมทั้งดูแลรักษาความสะอาดภายในแปลงอยู่เสมอ
2. แผนการทำงานที่มีความยืดหยุ่น สามารถปรับเปลี่ยนแผน ให้เกิดความเหมาะสมต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล