13069 : โครงการศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
ว่าที่ ร.ต.สมบูรณ์ ระดม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/10/2561 11:20:17
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  3000  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน และผู้ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2562 1,000,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ว่าที่ ร.ต. สมบูรณ์  ระดม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐษน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์ม ต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส62-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ วส62-2.3 เป็นแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเกษตรล้านนา เกษตรอินทรีย์ และเกษตรทฤษฎีใหม่ ตาม Roadmap การพัฒนามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด วส62-10. จำนวนแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเกษตรล้านนาและเกษตรทฤษฎีใหม่
กลยุทธ์ วส62-2.3.1 พัฒนาศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนาและแปลงสาธิตเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริให้เป็นแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยี
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พื้นที่ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา มีพื้นที่โดยประมาณ 35 ไร่ เป็นพื้นที่เตรียมการสาธิตด้านเกษตรล้านนา การจำลองวิถีชีวิตเกษตรกรในอดีต ภูมิปัญญาเกษตรพื้นบ้านท้องถิ่น เพื่อใช้สำหรับประกอบกิจกรรมของ ศูนย์เรียนรู้ ให้แก่ นักศึกษา นักเรียน เกษตรกร หรือผู้ที่สนใจเพื่อเข้าเยี่ยมชมและศึกษาวิถีชีวิตของคนล้านนา เป็นแหล่งการเรียนรู้วิถีชุมชนเกษตร วัฒนธรรมล้านนาและมหาวิทยาลัยมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้วิถีชุมชนเกษตรล้านนา ที่มีการถ่ายทอดองค์ความรู้วิถีชีวิตเกษตรล้านนา เช่น การอนุรักษ์ดินและน้ำ การปลูกข้าว การใช้สัตว์ไถนา วิถีชีวิตเกษตรอินทรีย์ ปุ๋ยหมัก การเลี้ยงสัตว์ โค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ การประมง การปลูกพืชสมุนไพร พืชไร่ พืชสวนและผลไม้ มุ่งหวังที่จะสร้างงานพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเกษตรล้านนา สนับสนุนให้พิพิธภัณฑ์การเกษตรท้องถิ่น สามารถเป็นองค์กรที่ทำหน้าที่เป็นคลังความรู้ของนักศึกษา ชุมชน สร้างจิตสำนึกร่วมกันให้เกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตน และเป็นเวทีให้คนในท้องถิ่นถ่ายทอดประวัติศาสตร์ วิถีชีวิต ความต้องการให้แก่คนรุ่นใหม่ได้ศึกษา รวมถึงสนับสนุน ให้เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิตสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์จริง เกิดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ในชุมชน ที่สามารถเลี้ยงตนเองได้ในวิถีเกษตรล้านนาอย่างแท้จริง ไม่เป็นอันตรายต่อเกษตรกรและผู้บริโภค สามารถให้ผลผลิต ทั้งปริมาณและคุณภาพ เป็นระบบการเกษตรที่มีความยั่งยืน ถาวร เป็นอาชีพที่มีความมั่นคง ความสำคัญของเกษตรธรรมชาติ คือ ช่วยรักษาสภาพแวดล้อม เนื่องจากไม่มีการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีทางการเกษตรทุกชนิด จึงไม่มีสารพิษตกค้างในสภาพแวดล้อม ช่วยปรับปรุงและพัฒนาดินให้มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการเพาะปลูก จึงช่วยคุ้มครองพื้นที่ในการทำการเกษตร ช่วยรักษาความสมดุลของระบบนิเวศและความสมดุลของสภาพแวดล้อมอื่นๆ ทำให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรที่บริสุทธิ์ ทั้งปริมาณและมีคุณภาพดี เกษตรกรสามารถพึ่งตนเองได้ โดยมีการใช้ทรัพยากรภายในแปลงเกษตรมาหมุนเวียนใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ลดการใช้ปัจจัยภายนอกจึงเป็นการลดต้นทุนการผลิต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เป็นแหล่งศึกษาความรู้แห่งใหม่ที่สามารถบูรณาการด้านศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2. เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนรายวิชา ผษ101 เกษตรเพื่อชีวิต
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา (35 ไร่)
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนแหล่งเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 แหล่ง 1
KPI 3 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 2500
KPI 4 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับการบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 50
KPI 5 : จำนวนนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 500
KPI 6 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 8 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 9 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 10 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 บาท 1000000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา (35 ไร่)
ชื่อกิจกรรม :
1. การบรรยาย ฝึกอบรม การสาธิตและการจัดนิทรรศการแสดงตัวอย่างจริง
2. สนับสนุนการเรียนการสอน รายวิชา ผษ 101 เกษตรเพื่อชีวิต ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ว่าที่ ร.ต.สมบูรณ์  ระดม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาคนงานเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
144,000.00 บาท 120,000.00 บาท 120,000.00 บาท 0.00 บาท 384,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง
- จำนวน 1 คันๆ ละ 2,000 บาท 15 ครั้ง เป็นเงิน 30,000บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
- ปุ๋ยคอก จำนวน 300 กระสอบๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 10,500 บาท
- ปุ๋ยอินทรีย์จากสัตว์หมัก จำนวน 575 กระสอบๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 46,000 บาท
- ดินดำ จำนวน 5 ลำๆ ละ 2,200 บาท เป็นเงิน 11,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 67,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
- กระดาษ A4 จำนวน 6 กล่องๆ ละ 565 บาท เป็นเงิน 3,390
- ปากกาลูกลื่นสีแดง จำนวน 2 กล่องๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 500 บาท
- ปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน จำนวน 3 กล่องๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 750 บาท
- ปากกาเคมี 2 หัว สีน้ำเงิน จำนวน 2 โหลๆ ละ 140 บาท เป็นเงิน 280 บาท
- ปากกาเคมี 2 หัว สีแดง จำนวน 1 โหลๆ ละ 140 บาท เป็นเงิน 140 บาท
- กระดาษคาร์บอนสีน้ำเงิน จำนวน 2 กล่องๆ ละ 140 บาท เป็นเงิน 280 บาท
- ลวดเสียบกระดาษ เบอร์ 1 จำนวน 35 กล่องๆ ละ 8 บาท เป็นเงิน 280 บาท
- คลิปดำ เบอร์ 109 จำนวน 6 กล่องๆ ละ 45 บาท เป็นเงิน 270 บาท
- คลิปดำ เบอร์ 110 จำนวน 9 กล่องๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 270 บาท
- คลิปดำ เบอร์ 111 จำนวน 6 กล่องๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 150 บาท
- ลวดเย็บกระดาษ No. 35-1m จำนวน 2 โหลๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 240 บาท
- ลวดเย็บกระดาษ No. 10-1m จำนวน 2 โหลๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 240 บาท
- เทปใส ¾ นิ้ว จำนวน 2 โหลๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 600 บาท
- ปากกาลบคำผิด จำนวน 6 แท่งๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 420 บาท
- กระดาษสติ๊กเกอร์ใส A4 จำนวน 2 แพ็คๆ ละ 165 บาท เป็นเงิน 330 บาท
- กระดาษสติ๊กเกอร์สีขาวด้าน จำนวน 2 แพ็คๆ ละ 340 บาท เป็นเงิน 680 บาท
- กระดาษการ์ดสี สีเขียว จำนวน 1 แพ็คๆ ละ 90 บาท เป็นเงิน 90 บาท
- กระดาษการ์ดสี สีชมพู จำนวน 1 แพ็คๆ ละ 90 บาท เป็นเงิน 90 บาท
- กระดาษการ์ดสี สีเหลือง จำนวน 1 แพ็คๆ ละ 90 บาทเป็นเงิน 90 บาท
- ที่เจาะกระดาษ จำนวน 1 อันๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 200 บาท
- สมุดเสนอเซ็นต์ปกกระดาษ(3เล่ม/แพ็ค) จำนวน 1 แพ็คๆ ละ 620 บาท เป็นเงิน 620 บาท
- แผ่นยางรองตัด A3 จำนวน 1 แผ่นๆ ละ 330 บาท เป็นเงิน 330 บาท
- ตะแกรงลวดใส่อุปกรณ์ จำนวน 2 อันๆ ละ 130 บาท เป็นเงิน 260 บาท
- ถาดใส่เอกสาร 3 ชั้น จำนวน 2 อันๆ ละ 495 บาท เป็นเงิน 990 บาท
- กรรไกร 8 นิ้ว จำนวน 2 อันๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 100 บาท
- เครื่องเหลาดินสอ จำนวน 1 อันๆ ละ 270 บาท เป็นเงิน 270 บาท
- แม็กซ์เย็บกระดาษ ใช้ลวดเย็บเบอร์ 10 จำนวน 2 อันๆ ละ 75 บาท เป็นเงิน 150 บาท
- แม็กซ์เย็บกระดาษ ใช้ลวดเย็บเบอร์ 35 จำนวน 2 อันๆ ละ 155 บาท เป็นเงิน 310 บาท
- เครื่องคิดเลข จำนวน 2 เครื่องๆ ละ 380 บาท เป็นเงิน 760 บาท
- แท่นตัดเทป จำนวน 1 อันๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 50 บาท
- ปากกาไวท์บอร์ด สีน้ำเงิน จำนวน 2 โหลๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 600 บาท
- ปากกาไวท์บอร์ด สีแดง จำนวน 2 โหลๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 600 บาท
- ปากกาไวท์บอร์ด สีดำ จำนวน 2 โหลๆ ละ 300 บาทเป็นเงิน 600 บาท
- มีดคัตเตอร์ จำนวน 2 อันๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 70 บาท
- ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน 10,000 แผ่นๆ ละ 0.50 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
- หมึกปริ้นเตอร์เลเซอร์ ยี่ห้อง HP รุ่น 17A (Original) จำนวน 4 หลอดๆ ละ 2,390 บาท เป็นเงิน 9,560 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 9,560.00 บาท 0.00 บาท 9,560.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 511060.00
ชื่อกิจกรรม :
3. การดูแลสัตว์เลี้ยงและโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ในระบบอินทรีย์
4. การปรับปรุงภูมิทัศน์ของศูนย์เรียนรู้
5. การทำสวนผักพื้นบ้านล้านนาและการปลูกผักริมรั้วตามวิถีชีวิตคนล้านนา
6. การปลูกข้าวอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ว่าที่ ร.ต.สมบูรณ์  ระดม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
- แกลบดิบ จำนวน 22 ลำๆ ละ 2,500 บาท เป็นเงิน 55,000 บาท
- ฟางอัดก้อน จำนวน 560 ก้อนๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 33,600 บาท
- ขี้เถ้าแกลบ จำนวน 11 ลำๆ ละ 3,000 บาท เป็นเงิน 33,000 บาท
- รำกลาง จำนวน 280 กระสอบๆ ละ 180 บาท เป็นเงิน 50,400 บาท
- ข้าวโพดป่น จำนวน 130 กระสอบๆ ละ 360 บาท เป็นเงิน 46,800 บาท
- อาหารหมูแรกเกิด จำนวน 50 กระสอบๆ ละ 550 บาท เป็นเงิน 27,500 บาท
- อาหารหมูเล็ก จำนวน 50 กระสอบๆ ละ 480 บาท เป็นเงิน 24,000 บาท
- อาหารไก่แรกเกิด จำนวน 50 กระสอบๆ ละ 570 บาท เป็นเงิน 28,500 บาท
- อาหารไก่เล็ก จำนวน 50 กระสอบๆ ละ 580 บาท เป็นเงิน 29,000 บาท
- อาหารลูกปลา จำนวน 50 กระสอบๆ ละ 750 บาท เป็นเงิน 37,500 บาท
- อาหารปลาเล็ก จำนวน 50 กระสอบๆ ละ 420 บาท เป็นเงิน 21,000 บาท
- อาหารปลาใหญ่ จำนวน 43 กระสอบๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 17,200 บาท
- บุ้งกี๋ตักดิน จำนวน 10 อันๆ ละ 214 บาท เป็นเงิน 2,140
- ต้นเฟิร์นข้าหลวง จำนวน 30 ต้นๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
- ต้นสับปะรดสี จำนวน 200 ต้นๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
- ต้นโกสน จำนวน 100 ต้นๆ ละ 130 บาท เป็นเงิน 13,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 453,640.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 453,640.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุก่อสร้าง
- หัวกะโหลกทองเหลือง 2 นิ้ว จำนวน 3 อันๆ ละ 540 บาท เป็นเงิน 1,620 บาท
- กาว 500 กรัม จำนวน 5 กระป๋องๆ ละ 260 บาท เป็นเงิน 1,300 บาท
- ตะปู 4 นิ้ว จำนวน 11 กิโลกรัมๆ ละ 40 บาท เป็นเงิน 440 บาท
- ลวดมัดเหล็ก จำนวน 10 ม้วนๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 800 บาท
- ตลับเมตร(5เมตร) จำนวน 5 อันๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
- ฆ้อน จำนวน 11 อันๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 2,200 บาท
- บ่อซีเมนต์ จำนวน 25 บ่อๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
- หัวก๊อกสนาม จำนวน 80 อันๆ ละ 175 บาท เป็นเงิน 14,000 บาท
- คีมตัดท่อ PVC จำนวน 5 อันๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท
- เลื่อยตัดเหล็ก จำนวน 1 อันๆ ละ 190 บาท เป็นเงิน 190 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,860.00 บาท 20,440.00 บาท 28,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้า
- สายไฟฟ้าแบบ VCT ขนาด 3x2.5 มม. (100เมตร/ม้วน) จำนวน 2 ม้วนๆ ละ 3,000 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
- สายไมโครโฟน จำนวน 1 ม้วนๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 488940.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล