13280 : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการทำเกษตรผสมผสานเกษตรอินทรีย์และเกษตรทฤษฎีใหม่เพื่อลดการใช้สารเคมีในระบบเกษตรให้แก่เกษตรกรในจังหวัดแพร่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
นางธนันธรณ์ วุฒิญาณ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/1/2562 13:38:06
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2561  ถึง  30/09/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  70  คน
รายละเอียด  ไม่ระบุ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2562 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย สิทิไวกูล  ทิราวงศ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.2 เป็นที่พึ่งของประชาชน และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ตัวชี้วัด 61MJU4.2.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมาย ที่เกิดจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.2.7 ติดตามประเมินสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบต่อชุมชนจากการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3 พัฒนาการบริการวิชาการและการวิจัย
เป้าประสงค์ 59.1.มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับ
ตัวชี้วัด 1 58 ผก. 4.1 (กพร.6) ระดับความสำเร็จของการบูรณาการผลงานบริการวิชาการสู่พันธกิจอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ สนับสนุนให้บุคลากร และนักศึกษามีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับ (Organic Green Eco Education Hub)
ตัวชี้วัด 1 57-4-1.1 (กพร.6) ระดับความสำเร็จของการบูรณาการผลงานบริการวิชาการสู่พันธกิจอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ สนับสนุนให้บุคลากร และนักศึกษามีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการแก่สังคม
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ 3 พัฒนาการบริการวิชาการและการวิจัย
เป้าประสงค์ 59.1.มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับ
ตัวชี้วัด 1 58 ผก. 4.1 (กพร.6) ระดับความสำเร็จของการบูรณาการผลงานบริการวิชาการสู่พันธกิจอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ สนับสนุนให้บุคลากร และนักศึกษามีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับ (Organic Green Eco Education Hub)
ตัวชี้วัด 1 57-4-1.1 (กพร.6) ระดับความสำเร็จของการบูรณาการผลงานบริการวิชาการสู่พันธกิจอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ สนับสนุนให้บุคลากร และนักศึกษามีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการแก่สังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามนโยบายคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) และรัฐบาลปัจจุบัน ให้ความสำคัญกับความเป็นอยู่ของเกษตรกร โดยมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรให้เข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนการพัฒนาระบบเกษตรกรรมยั่งยืน และมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของจังหวัด ดังนี้ "สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านความมั่นคงและด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน จากสภาพปัญหาการใช้สารเคมีในระบบการเกษตร ในปัจจุบันที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย ซึ่งผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมีในการผลิตสินค้าการเกษตร ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และผู้บริโภคที่ได้รับอาหารปนเปื้อนสารเคมี ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย จากผลกระทบดังกล่าวทำให้แนวคิดที่มุ่งแสวงหาทางออกให้แก่สังคมในด้านการเกษตร ได้มีทางเลือกใหม่เกิดขึ้น โดยปัจจุบันได้เปลี่ยนจากการใช้ปุ๋ยเคมีเป็นปุ๋ยชีวภาพ ที่อ้างอิงจากธรรมชาติมากขึ้น นั่นเพราะปัจจุบันเกษตรกรรมทางเลือกได้กลายเป็นกระแสที่ได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น เกษตรกรรมแบบทางเลือก จึงเป็นทางเลือกที่เกษตรยุคใหม่นำมาเป็นทางเลือกในการทำการเกษตรปลอดภัย ซึ่งสอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบันที่มุ่งเน้นเรื่องการบริโภคอาหารปลอดภัย เกษตรทางเลือกเป็นการทำการเกษตรอีกแบบหนึ่ง ที่ไม่ใช่เกษตรเคมีดังที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน เป็นการทำการเกษตรที่เน้นการใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก และวัสดุคลุมดิน การผสมผสานการปลูกพืชและสัตว์ ลดการไถพรวนและงดเว้นหรือลดการใช้สารเคมีสังเคราะห์ และสารเคมีกำจัดศัตรูพืชให้น้อยลงจนถึงขั้นไม่ใช้เลย โดยเกษตรทางเลือกมีเป้าหมายในการผลิตอาหารเพื่อบริโภคมากกว่าการขายออก เกษตรกรจึงไม่ต้องวิ่งไปตามกระแสของตลาด อาหารที่ผลิตได้ก็เป็นอาหารที่มีคุณภาพปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง เกษตรทางเลือกมีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยไม่เกิดผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม และเปิดโอกาสให้สมาชิกในครอบครัวสามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีความสุข และสามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างกลมกลืน ซึ่งปัจจุบันเกษตรทางเลือกมีอยู่หลายกลุ่ม ส่วนใหญ่จะมีหลักการและวิธีการที่ใกล้เคียงกัน แต่จะมีความแตกต่างกันบ้างตรงแนวคิด และวิธีปฏิบัติ ได้แก่ เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรอินทรีย์ ดังนั้น เพื่อแก้ปัญหาลดปัญหาการใช้สารเคมีในระบบการเกษตร การส่งเสริมและให้ความรู้ด้านการเกษตรทางเลือกให้แก่เกษตร ได้มีความรู้ความเข้าในถึงแนวทางปฏิบัติและพัฒนาต่อยอดในการนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต หรือทำเป็นอาชีพหลัก/อาชีพเสริมได้อย่างเหมาะสมมีประสิทธิภาพสามารถและพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีองค์ความรู้ด้านการเกษตรเป็นรากฐาน จึงขอเสนอโครงการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการทำเกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรีย์ และเกษตรทฤษฎีใหม่ ให้แก่เกษตรในจังหวัดแพร่ เพื่อพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งและพึ่งพาจนเองได้อย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
7.1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรมีความรู้ความเข้าในถึงแนวทางการทำการเกษตร ในรูปแบบต่างและสามารถต่อยอดในการดำเนินชีวิตได้
7.2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกร ลดและหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีในระบบเกษตร
7.3 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรสามารถผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อบริโภค/จำหน่ายและสามารถพึ่งพาตนเอง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการทำเกษตรผสมผสานเกษตรอินทรีย์และเกษตรทฤษฎีใหม่เพื่อลดการใช้สารเคมีในระบบเกษตรให้แก่เกษตรกรในจังหวัดแพร่
KPI 1 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 70
KPI 2 : เกษตรกรที่ได้รับการส่งเสริมสามารถผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อบริโภค/จำหน่ายและสามารถพึ่งพาตนเอง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 5 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 บาท 50000
KPI 6 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 100
KPI 8 : ร้อยละของเกษตรมีความรู้ความเข้าในถึงแนวทางการทำการเกษตรในรูปแบบต่าง ๆ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการทำเกษตรผสมผสานเกษตรอินทรีย์และเกษตรทฤษฎีใหม่เพื่อลดการใช้สารเคมีในระบบเกษตรให้แก่เกษตรกรในจังหวัดแพร่
ชื่อกิจกรรม :
อบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการทำเกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรีย์ และเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อลดการใช้สารเคมีในระบบเกษตรกร ให้แก่เกษตรกรในจังหวัดแพร่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายสิทิไวกูล  ทิราวงศ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 35 คน ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 21,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 35 คน ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 9,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากร(ภาคบรรยาย) จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 1 คน ๆ ละ 8 ชม ๆ 600 บาท เป็นเงิน 19,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 19,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล