13433 : โครงการผลิตต้นกล้าพืชพันธุ์ดีเพื่อบริการ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2562
นางรัตนา ศรีวิชัย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 15/11/2561 13:35:35
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2561  ถึง  31/10/2562
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  10  คน
รายละเอียด  ผู้ประกอบการ เกษตรกร และผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่ใช้งบประมาณ 2562 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. รังสิมา  อัมพวัน
นาง ทิพย์สุดา  ปุกมณี
นาง เดือนสว่าง  ดวงบาล
นาง พินธรา  สำราญสกุล
นาง สายบัว  เต๋จ๊ะ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2562 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 4 การบริการวิชาการเพื่อสังคมและชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ 61-64MJU 4.1 ระบบการบริหารจัดการงานบริการ วิชาการที่ดี มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด 61MJU4.1.1 ร้อยละของงบประมาณบริการวิชาการ (ทั้งงบแผ่นดินและรายได้) ที่เพิ่มขึ้น
กลยุทธ์ 61-64MJU 4.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2562] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส62-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เป้าประสงค์ วส62-2.5 เป็นแหล่งพัฒนาพันธุ์พืชหรือสัตว์
ตัวชี้วัด วส62-12. จำนวนพันธุ์พืชหรือสัตว์ที่ได้รับการพัฒนาพันธุ์
กลยุทธ์ วส62-2.5.1 พัฒนาสำนักวิจัยให้เป็นแหล่งพัฒนาพันธุ์พืชหรือสัตว์
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันมีการปลูกพืชเศรษฐกิจเป็นอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออกอย่างแพร่หลายในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน เช่น สับปะรด และกล้วย ทั้งที่ทานผลสดและแปรรูป รวมถึงการปลูกเพื่อการบริโภคภายในประเทศเอง โดยผู้ปลูกนิยมใช้ต้นกล้าจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เนื่องจากต้องใช้ปริมาณมาก ต้นมีความสม่ำเสมอ ปลอดโรค และสามารถวางแผนการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชที่มีคุณภาพไม่สามารถรองรับการผลิตต้นได้ทันกับความต้องการของผู้ปลูก ฝ่ายปรับปรุงและพัฒนาพันธุกรรมพืชและสัตว์ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มีห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชและโรงเรือนเพาะเลี้ยงต้นกล้าอ่อน ที่มีความพร้อมและนักวิจัยที่มีความชำนาญในการขยายพันธุ์พืชชนิดต่างๆ โดยได้นำองค์ความรู้จากงานวิจัยไปพัฒนาต่อยอดในการผลิตพืชที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์ เช่น สับปะรด กล้วย ฟาแลนนอฟซิส ไม้ดอกไม้ประดับ และพืชสมุนไพร เป็นต้น ซึ่งประสบความสำเร็จในเชิงอุตสาหกรรม โดยในปีที่ผ่านๆ มาได้ให้บริการต้นกล้าพันธุ์ดีที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อแก่ผู้ประกอบการ เกษตรกร และผู้สนใจทั่วไป ทั้งในรูปของการทำบันทึกข้อตกลง การจำหน่ายผลผลิต รวมทั้งได้เผยแพร่องค์ความรู้ต่างๆ ในคู่มือการปฏิบัติงานการผลิตต้นกล้าพันธุ์พืชชนิดต่างๆ ในเชิงอุตสาหกรรม แก่ผู้ที่สนใจ ซึ่งผลตอบรับความต้องการจำนวนต้นกล้าพืชพันธุ์ดีมีจำนวนมากขึ้น ดังนั้น ฝ่ายปรับปรุงและพัฒนาพันธุกรรมพืชและสัตว์ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร จึงได้จัดทำโครงการการผลิตต้นกล้าพืชพันธุ์ดีเพื่อให้บริการนี้ขึ้นมา เพื่อพัฒนางานเดิมให้แพร่หลายมากขึ้น และเป็นที่พึ่งของสังคม เพื่อเป็นทางเลือกในการตัดสินใจในการเลือกใช้ต้นกล้าพืชพันธุ์ดีไปทำการเพาะปลูกให้กับผู้ประกอบการ เกษตรกร ตลอดจนผู้สนใจทั่วไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อให้บริการต้นกล้าพืชพันธุ์ดีแก่ผู้ประกอบการ เกษตรกร และผู้สนใจทั่วไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลิตต้นกล้าพืชพันธุ์ดีเพื่อให้บริการ
KPI 1 : 1.ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการวิชาการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
KPI 2 : 1. จำนวนต้นกล้าพืชพันธุ์ดีที่ให้บริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ต้น 40000
KPI 3 : 2. จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ให้บริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 คน 10
KPI 4 : 1.ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 90
KPI 5 : 1.ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลิตต้นกล้าพืชพันธุ์ดีเพื่อให้บริการ
ชื่อกิจกรรม :
1. คัดเลือกพืชพันธุ์ดีที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์เข้าห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
2. ชักนำการเกิดต้น
3. เพิ่มปริมาณต้น
4. ชักนำการออกราก
5. ย้ายต้นออกปลูกและปรับสภาพต้นในโรงเรือนเพาะเลี้ยงต้นกล้าอ่อน
6. ให้บริการผลผลิตต้นกล้าพันธุ์ดีแก่ผู้รับบริการ
7. ประเมินผลผู้รับบริการ/ประเมินผลการดำเนินงานโครงการ
8. จัดทำรายงานผล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2561 - 30/09/2562
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.รังสิมา  อัมพวัน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางทิพย์สุดา  ปุกมณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางเดือนสว่าง  ดวงบาล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางพินธรา  สำราญสกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางสายบัว  เต๋จ๊ะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
- แรงงานที่ใช้ในการผลิตไม่เพียงพอ และเป็นแรงงานที่ต้องฝึกมาเฉพาะทาง ซึ่งต้องใช้ระยะเวลาในการฝึกฝนมากเพื่อให้เกิดความชำนาญ และแรงงานมีการโยกย้ายงานบ่อยครั้ง เนื่องจากขาดงบประมาณในการจัดจ้าง
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
- ควรมีงบประมาณจัดจ้างที่ถาวร เพื่อจะได้ไม่เกิดการโยกย้ายของแรงงานบ่อยครั้ง
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล