21246 : SAS-67 โครงการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาดุษฎีนิพนธ์สำหรับนักศึกษาต่างชาติหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาบริหารศาสตร์ ภาคการศึกษาที่ 2/2566
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นายมรรค คงดี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/1/2567 16:12:54
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
09/01/2567  ถึง  08/03/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  25  คน
รายละเอียด  1. นักศึกษาต่างชาติ ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาบริหารศาสตร์ จำนวน 20 คน 2. คณาจารย์และนักวิชาการศึกษา จำนวน 5 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2567 224,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย มรรค  คงดี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยบริหารศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.2 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาของหลักสูตร
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.2.1 พัฒนาและสนับสนุนนักศึกษาให้สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนด
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ SAS 64-67 (1) จัดการศึกษาด้านการเมืองการปกครอง กฎหมาย การระหว่างประเทศ การบริหารรัฐกิจ และการบริหารกิจการสังคม
เป้าประสงค์ SAS 64-67 (1.2) บัณฑิตมีทักษะทางวิชาการและวิชาชีพตามที่หลักสูตรกำหนด
ตัวชี้วัด SAS-65-67 ร้อยละนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา (ตามระยะเวลาของหลักสูตร)
กลยุทธ์ SAS สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์ ตัวอย่าง กรณีศึกษา หรือ การศึกษาดูงาน ในเรื่องที่เกี่ยวกับการเรียนหรือเป็นประเด็นทางสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สืบเนื่องจากแนวนโยบายการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาตามที่กำหนดในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ในส่วนที่เกี่ยวกับมาตรฐานการอุดมศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาสู่การปฏิบัติในสถาบันอุดมศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม โดยมุ่งเน้นที่ Learning Outcomes เป็นมาตรฐานคุณภาพเพื่อประกันคุณภาพบัณฑิต โดยมีกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาเป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ให้สามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานที่เทียบเคียงกันได้ทั้งในระดับชาติและระดับสากล วิทยาลัยบริหารศาสตร์จึงได้พัฒนาหลักสูตรของวิทยาลัยให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยคำนึงถึงการพัฒนาทักษะของนักศึกษาและผลการเรียนรู้ ที่ทำให้นักศึกษาสามารถเป็นบัณฑิตที่เป็นที่ต้องการของสังคม ชุมชน และท้องถิ่น ประกอบกับวิทยาลัยบริหารศาสตร์ ได้จัดการเรียนการสอนหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารศาสตร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความสามารถด้านการวิจัย สร้างสรรค์และจัดการองค์ความรู้ด้านการบริหาร เพื่อเป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาและเป็นนักบริหารมืออาชีพ และผลิตผลงานด้านการศึกษาและวิจัยที่มีคุณค่าทางวิชาการ มีประโยชน์ในการบริหารให้มีประสิทธิภาพต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเปลี่ยนแปลงของประเทศ โดยได้รับนักศึกษาต่างชาติเข้าศึกษาต่อในหลักสูตร ดังนั้น เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้ด้านการวิจัยให้กับนักศึกษาให้มีมากขึ้นและนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาดุษฎีนิพนธ์ของตนให้แล้วเสร็จตามแผนที่กำหนด จึงได้จัดโครงการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาดุษฎีนิพนธ์สำหรับนักศึกษาต่างชาติ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารศาสตร์ ภาคการศึกษาที่ 2/2566 ในวันที่ 22 – 26, 29 – 31 มกราคม 2567 และ วันที่ 1 – 2, 5 – 8 กุมภาพันธ์ 2567 (รวมจำนวน 14 วัน) ณ ห้องสิงหรา ชั้น 3 วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านการวิจัยที่มากขึ้น
2. เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมโครงการไปพัฒนาดุษฎีนิพนธ์ของตน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาได้รับความรู้ด้านการวิจัยเพื่อนำไปพัฒนาดุษฎีนิพนธ์
KPI 1 : นักศึกษามีความรู้ด้านการวิจัยเพิ่มขึเน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาดุษฎีนิพนธ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาได้รับความรู้ด้านการวิจัยเพื่อนำไปพัฒนาดุษฎีนิพนธ์
ชื่อกิจกรรม :
- สัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาตความรู้ในการจัดทำดุษฎีนิพนธ์
- ให้คำปรึกษางานวิจัย
- บรรยายพิเศษและบรรยายเชิงปฏิบัติการ
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางวิชาการ
โครงการจัดกิจกรรมในวันที่ 22 - 26, 29 - 31 มกราคม 2567 และ 1 - 2, 5 - 8 กุมภาพันธ์ 2567 รวมจำนวน 14 วัน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 22/01/2567 - 08/02/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายมรรค  คงดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (100 บาท* 25 คน* 14 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 35,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่าง (30 บาท* 25 คน* 28 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 21,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 21,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนในการสัมมนาเพื่อพัฒนาความรู้ในการจัดทำดุษฎีนิพนธ์ (2,000 บาท* 60 ชั่วโมง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 120,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 120,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าบรรยายพิเศษ (2,000 บาท* 24 ชั่วโมง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 48,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 48,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 224000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล