21546 : โครงการปรับพื้นฐานและเพิ่มทักษะทางคณิตศาสตร์สำหรับนักศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 29/4/2567 16:16:06
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
20/05/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. คนิติน  สมานมิตร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.4 ส่งเสริมกิจกรรมที่ชื่อมโยงการพัฒนาทักษะจำเป็นของนักศึกษาจากความต้องการจำเป็นและเสียงสะท้อนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholder requirement and feedback) เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-1 การเสริมสร้างวิชาการและทักษะวิชาชีพที่ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก
เป้าประสงค์ 67-1.3 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-1.3.7 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-1.3.7.2 ส่งเสริมกิจกรรมที่เชื่อมโยงการพัฒนาทักษะจำเป็นของนักศึกษาจากความต้องการจำเป็นและเสียงสะท้อนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholder requirement and feedback) เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้มีการจัดการเรียนการสอนทางด้านวิทยาศาสตร์หลายสาขา อาทิเช่น สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ สาขาวิชาเกษตรป่าไม้ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเกษตร และสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมป่าไม้ เป็นต้น โดยนักศึกษาในสาขาวิชาดังกล่าวจะมีเรียนรายวิชาทางด้านฟิสิกส์ หรือสถิติ ซึ่งเป็นรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณอย่างน้อย 1 รายวิชา เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณระดับสูงต่อไป อย่างไรก็ตาม จากการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ สถิติ และฟิสิกส์ ในระยะเวลาที่ผ่านมา พบว่านักศึกษายังขาดความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐานในเรื่องการเทียบบัญญัติไตรยางค์ การแก้สมการเบื้องต้น และการบวก ลบ คูณ หาร เลขยกกำลัง ซึ่งอาจทำให้นักศึกษามีปัญหาต่อการทำปัญหาพิเศษ งานวิจัย หรือรายวิชาที่เกี่ยวข้องในระดับสูงต่อไป ดังนั้น เพื่อให้นักศึกษาในสาขาวิชาดังกล่าวมีความรู้และความเข้าใจคณิตศาสตร์พื้นฐานได้อย่างถูกต้อง คณาจารย์ทางกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานเล็งเห็นว่าควรมีโครงการที่ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพให้กับนักศึกษา จึงได้ขอเสนอให้จัดโครงการการปรับพื้นฐานและเพิ่มทักษะทางคณิตศาสตร์ ซึ่งโครงการดังกล่าวจะเป็นส่วนช่วยที่สำคัญและเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพให้กับนักศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ โดยนักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาที่เกี่ยวข้องหรือนำไปต่อยอดในวิชาชีพเพื่อพัฒนาประเทศได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อปรับพื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์ให้กับนักศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2. เพื่อให้นักศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความพร้อมในการนำความรู้และทักษะทางด้านคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ระดับสูงต่อไป รวมทั้งยังสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การใช้เครื่องคำนวณทางวิทยาศาสตร์
KPI 1 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะการใช้เครื่องคำนวณทางวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การใช้เครื่องคำนวณทางวิทยาศาสตร์
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการการใช้เครื่องคำนวณทางวิทยาศาสตร์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 20/05/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.คนิติน  สมานมิตร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล