21548 : โครงการพัฒนาความรู้ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเร่งและพัฒนาผู้ประกอบการสำหรับนักศึกษา (Entrepreneurship Acceleration Program)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นายนพพร สุนะ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 29/4/2567 21:36:19
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
08/05/2567  ถึง  30/07/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  อาจารย์ และนักศึกษาสาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัล
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสารสนเทศและการสื่อสาร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2567 11,500.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณภัทร  เรืองนภากุล
นาย นพพร  สุนะ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. สมเกียรติ  ชัยพิบูลย์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสารสนเทศและการสื่อสาร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67Info-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจ (MOC) (ด้านพัฒนานักศึกษา)
เป้าประสงค์ 67Info-2.2 นักศึกษาและศิษย์เก่ามีศักยภาพและผ่านกระบวนการ พัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัด 67Info-2.10 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67Info-2.2.1 มีกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่เสริมสร้างทักษะไอที ภาษา วิชาชีพ ผ่านกระบวนการ พัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21 พร้อมทั้งส่งเสริมให้นักศึกษาทุกระดับมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมทางวิชาการ และการพัฒนาทักษะเชิงวิชาชีพและการบูรณาการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม และการรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมองค์กรที่เข้มแข็ง โดยเฉพาะการมีส่วนร่วมทั้งศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน และเครือข่ายองค์กรวิชาชีพ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติงานจริงเชิงวิชาชีพของภาคผลิตในสังคม (Real Sector) Sector)
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67Info-4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 67Info-4.1 พัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology & Innovation)
ตัวชี้วัด 67Info-4.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67Info-4.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนจากการประยุกต์องค์ความรู้จากการเรียนการสอนสู่การเป็นผู้ประกอบการในอนาคต
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่หรือการสร้างทีมสตาร์ทอัพนั้นสามารถเริ่มต้นจากนวัตกรรมในเชิงกรอบความคิด นวัตกรรมเชิงกระบวนการ และนวัตกรรมเชิงการผลิต หรือแม้กระทั่งนวัตกรรมทางโมเดลธุรกิจ ซึ่งมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน การสร้างนวัตกรรมในองค์กรนั้นเพื่อมุ่งหวังให้ธุรกิจมีประสิทธิภาพเจริญเติบโต หลายองค์กรมีการสร้างสิ่งใหม่ภายในองค์กรด้วยการค้นคว้าหาความรู้ใหม่ๆ ผ่านกระบวนความคิดด้วยบุคลากรภายใน แต่อาจทำให้ไม่สามารถเข้าถึงความรู้สึกความต้องการของลูกค้าได้อย่างชัดเจน หรือไม่สามารถตาม global trend ได้ การสร้างทีมงานวัตกรรมภายในองค์กร คือ การพัฒนาและส่งเสริมให้บุคคลากรได้มีทักษะเชิงนวัตกรรม สามารถคิดวางแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริการ หรือโครงการต่างๆ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของกลุ่มลูกค้าอย่างแท้จริง เป็นกระบวนการที่สามารถปฏิบัติแล้วทำให้องค์กรได้มีทีมงานนวัตกรรมภายในองค์กร ดังนั้นหากบุคลากรได้มีโอกาสเรียนรู้และลงมือทำ เป็นเครื่องมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆเป็น Start Up Project ขององค์กรเพื่อหวังผลเชิงธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ หนึ่งในนโยบายสำคัญของมหาวิทยาลัยแม่โจ้คือ การส่งเสริมระบบนิเวศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเร่งพัฒนาผู้ประกอบการทั้งรูปแบบของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ตลอดจนวิสาหกิจเริ่มต้นหรือสตาร์ทอัพ ซึ่งคำว่าระบบนิเวศหรือ Ecosystem นี้ หมายรวมถึงทั้งภายในมหาวิทยาลัยและภายนอกมหาวิทยาลัยให้ได้รับการพัฒนา เติบโต และทำงานสอดประสานกันทั้งองคาพยพ เป็นภาคีเครือข่ายที่มีเป้าหมายในการทำงานร่วมกัน แน่นอนว่าเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตรเป็นจุดแข็งและแนวทางสำคัญในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและทิศทางของโลกในปัจจุบันและอนาคต นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้จัดทำแผนพัฒนาความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยและได้เสนอตัวพลิกโฉมมหาวิทยาลัยสู่สถาบันอุดมศึกษากลุ่มที่ 2 ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม ตามความเชี่ยวชาญและยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย ภายใต้การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่การเป็นมหาวิทยาลัยแห่งผู้ประกอบการ ผ่านกระบวนการขับเคลื่อนและผลักดันผู้ประกอบการจะมีส่วนร่วมในการช่วยให้เข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานการผลิต รวมถึงการตลาดและการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าใหม่ๆ เพื่อเป็นการยกระดับและขยายกำลังการผลิตของผู้ประกอบการเทคโนโลยีที่มีความพร้อมและมีศักยภาพในการทำธุรกิจ และสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยการส่งเสริมให้นักศึกษาผ่านกระบวนการบ่มเพาะ เพื่อเตรียมความพร้อมในการเป็นผู้ประกอบการ โครงการการพัฒนาความรู้ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเร่งและพัฒนาผู้ประกอบการสำหรับนักศึกษา (Entrepreneurship Acceleration Program) จึงเกิดขึ้นเพื่อพัฒนาทักษะของนักศึกษาที่จำเป็นต่อการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพ โดยมีวิทยากร คุณนัฐพงศ์ จารวิจิต ผู้ก่อตั้งและ CEO บริษัท ลิลูน่าเทค จำกัด (Pokpok) สตาร์ทอัพจากรายการอายุน้อยร้อยล้าน มาบรรยายให้แก่นักศึกษา

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมและผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และการเป็นผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมและผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และการเป็นผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพ
KPI 1 : นักศึกษาเข้าร่วมการอบรม (50 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาโมเดลทางธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมและผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และการเป็นผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการพัฒนาทักษะดิจิทัลเทคโนโลยีและการเป็นผู้ประกอบการในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักศึกษา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 08/05/2567 - 30/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร  เรืองนภากุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายนพพร  สุนะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักวิทยากรจำนวน 1 คืน = 1,400 บาท (จ่ายตามจริง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะวิทยากรไป-กลับ 5,000 บาท (จ่ายตามจริง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 50 คนx 30 บาทx 1 มื้อ = 1,500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ไม่ใช่คนของรัฐ)
จำนวน 1 ท่านๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 1,200 บาท = 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 11500.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล