การวิเคราะห์หาโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันในข้าวต่อการติดเชื้อโรคขอบใบแห้ง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-071
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การวิเคราะห์หาโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันในข้าวต่อการติดเชื้อโรคขอบใบแห้ง
บทคัดย่อ :

โรคขอบใบแห้ง (Bacterial Leaf Blight) เป็นโรคที่สาคัญและสร้างความเสียหายเป็นอันดับหนึ่งของโรคข้าว ทาให้ผลผลิตข้าวลดลงสูงถึง 50 เปอร์เซ็นต์ โดยพบการระบาดของโรคนี้หลายพื้นที่ในประเทศไทยโดยเฉพาะภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การเก็บรวบรวมและศึกษาความแตกต่างทางพันธุกรรมของเชื้อที่ก่อโรคนั้นเป็นขั้นตอนเบื้องต้นในกระบวนการการศึกษาโรคในพืช สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการศึกษากระบวนการก่อโรคของเชื้อโรคต่อต้นพืช อีกทั้งสามารถนามาใช้เพื่อศึกษากระบวนการและยีนที่ต้านทานต่อเชื้อโรคในพืชสายพันธุ์ต่าง ๆ โดยนาข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชต่อไปในอนาคต งานวิจัยนี้ได้มีเก็บรวมรวบและแยกเชื้อแบคทีเรียจากรอยโรคขอบใบแห้งในข้าวจากนาข้าวทั้งหมด 16 อาเภอ ในจังหวัดเชียงใหม่โดยสามารถแยกและเก็บรวบรวมเชื้อแบคทีเรียบริสุทธิ์ได้ทั้งหมด 70 ตัวอย่าง จากการศึกษาพบว่ามีตัวอย่างเชื้อแบคทีเรียบริสุทธ์จานวน 26 ตัวอย่างที่มีลักษณะของโคโลนีที่เจริญบนอาหารแข็งและติดสีย้อมแกรมลบมีรูปร่างแท่งซึ่งมีแนวโน้มที่จะเป็นเชื้อแบคทีเรียชนิด Xanthomonas oryzae pv. oryzae (Xoo) ที่ก่อโรคขอบใบแห้ง ทั้งนี้มีตัวอย่างเชื้อแบคทีเรียจานวน 15 ตัวอย่าง ที่สามารถเพิ่มจานวนชิ้นส่วนของยีน rpoB และ gyrB ได้อย่างจาเพาะซึ่งจากการวิเคราะห์ลาดับนิวคลีโอไทด์โดยใช้ไพรเมอร์จานวน 2 คู่ สามารถนามาใช้เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของเชื้อแบคทีเรียทั้ง 15 ตัวอย่างโดยวิธี Maximum Likelyhood ด้วยโปรแกรม MEGA6 พบว่าเชื้อแบคทีเรียมีความแตกต่างทางพันธุกรรมโดยสามารถแบ่งตัวอย่างของเชื้อแบคทีเรียตัวอย่างออกมาได้เป็น 5 กลุ่มใหญ่ด้วยกัน และเมื่อนาตัวอย่างแบคทีเรียที่แยกได้จากงานวิจัยนี้มาทดสอบการก่อโรคในข้าว 2 สายพันธุ์ได้แก่ ขาวดอกมะลิ 105 และเหนียวสันป่าตองพบว่าเชื้อแบคทีเรียดังกล่าวความสามารถในการก่อโรคในข้าวทั้ง 2 สายพันธุ์ ดังนั้นเชื้อแบคทีเรียตัวอย่างที่เก็บรวบรวมได้จากงานวิจัยนี้ไปศึกษาเพื่อค้นหาโปรตีนต้านทานเชื้อชนิดนี้ในข้าวต่อไปในอนาคต

คำสำคัญ : ข้าว , โรคใบไหม้ในข้าว , เชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas oryzae pv. oryzae (Xoo) , ยีนแม่บ้าน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Characterization of rice immune system protein triggered by bacterial leaf blight infection
Abstract :

Bacterial leaf blight disease is counted as one of the most important bacterial infections in rice (Oryza sativa L.) caused approximately 50 % yield losses. This disease is cause from the infection of Xanthomonas oryzae pv. oryzae (Xoo) that high outbreak in the rice field in the north and northeast part of Thailand. The isolation and study genetic diversity of bacteria is the important information for rice breeding program to generate the new variety of rice which resisted to the bacterial leaf blight disease. This project collected rice leaves from 16 districts in Chiang Mai and can isolated 70 bacterial samples. The colony characteristic and grams staining revealed 26 bacterial isolates were likely to be the Xanthomonas oryzae pv. oryzae, a pathogen of bacterial blight disease in rice. The PCR amplification of rpoB and gyrB was successfully identified from total 15 samples. The DNA sequencing data from 2 primer pairs were used to study the genetic diversity among these 15 bacteria samples. The Maximum Likelihood tree was constructed using MEGA6 program which divided bacteria isolates into 5 groups. Pathogenicity test revealed 2 rice varieties which are Khao Dawk Mali 105 and Niaw San-pah-tawng were successfully infected by the isolated bacteria. The bacterial isolated from this study will be useful for further study in order to analyze the infectivity in rice plant and identified the protein response to rice resistant to the bacterial pathogen caused the bacterial leaf blight disease.

Keyword : Rice (Oryza sativa L.), Bacterial leaf blight disease, Xanthomonas oryzae pv. oryzae (Xoo), housekeeping gene.
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภารัตน์ ลีธนัชอุดม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
50 ไม่ระบุ
2 สิทธิรักษ์ รอยตระกูล
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : สถาบันจีโนมศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 ภัทรพล ลีธนัชอุดม
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
4 นฎา อารยะสกุล
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
287,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 287,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
30 มกราคม 2561
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
ฉบับที่ : -
หน้า :
ระดับการนำเสนอ :
เจ้าของวารสาร :
0.4
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023