จรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลองเพื่องานทางวิทยาศาสตร์
วันที่เขียน 19/8/2564 14:03:03     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 29/4/2567 22:39:56
เปิดอ่าน: 1306 ครั้ง

ในการเข้าร่วมการโครงการฝึกอบรม “จรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลองเพื่องานทางวิทยาศาสตร์” ผ่านระบบออนไลน์ Microsoft Teams ข้าพเจ้าได้เรียนรู้จาก การฝึกอบรม ดังนี้ - ทราบจรรยาบรรณนักวิจัย และจรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลอง ที่ถูกต้องตามระเบียบ รวมถึงการกำกับดูแลการเลี้ยงและใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์และพระราชบัญญัติสัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2558 - ทราบถึง จรรยาบรรณนักวิจัยสภาวิจัยแห่งชาติ และรูปแบบการกระทำผิดจรรยาบรรณ รวมถึงข้อกำหนด สถานที่ดำเนินการต่อสัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ - ทราบแนวการวิเคราะห์ข้อมูลตามแบบแผนการทดลองที่มีการใช้สัตว์ ทั้งแบบการวิเคราะห์ และแนะนำ G power program - ทราบ วิธีการวิเคราะห์ทางสถิติที่พบได้บ่อยในการทดลองที่มีการใช้สัตว์ - ทราบถึง แนวทางการปฏิบัติต่อสัตว์ทดลอง การกำหนดพื้นที่ โรงเรือน การดำเนินการหลังการทดลอง

  1. สรุปเนื้อหาที่ได้รับจากการเข้าประชุม/อบรม ฯลฯ

                      ในการเข้าร่วมการโครงการฝึกอบรม “จรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลองเพื่องานทางวิทยาศาสตร์” ผ่านระบบออนไลน์ Microsoft Teams ข้าพเจ้าได้เรียนรู้จาก การฝึกอบรม ดังนี้

  • ทราบจรรยาบรรณนักวิจัย และจรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลอง ที่ถูกต้องตามระเบียบ รวมถึงการกำกับดูแลการเลี้ยงและใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์และพระราชบัญญัติสัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2558
  • ทราบถึง จรรยาบรรณนักวิจัยสภาวิจัยแห่งชาติ และรูปแบบการกระทำผิดจรรยาบรรณ รวมถึงข้อกำหนด สถานที่ดำเนินการต่อสัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์
  • ทราบแนวการวิเคราะห์ข้อมูลตามแบบแผนการทดลองที่มีการใช้สัตว์ ทั้งแบบการวิเคราะห์ และแนะนำ G power program
  • ทราบ วิธีการวิเคราะห์ทางสถิติที่พบได้บ่อยในการทดลองที่มีการใช้สัตว์
  • ทราบถึง แนวทางการปฏิบัติต่อสัตว์ทดลอง การกำหนดพื้นที่ โรงเรือน การดำเนินการหลังการทดลอง
    1. ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่

    งานสัมมนาออนไลน์นี้ข้าพเจ้าได้ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่งานด้านการสอน การวิจัย โดยได้รับความรู้จากการฟังบรรยายความรู้เรื่อง จรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลองเพื่องานทางวิทยาศาสตร์ การขออนุญาตใช้สัตว์เพื่อการทดลองวิจัย การคำนวณทางสถิติพื้นฐานด้านสัตว์ทดลอง กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และหัวข้อสำคัญด้านการใช้โปรแกรมคำนวณจำนวนสัตว์ทดลอง รวมถึงหัวข้อสำคัญอื่น ๆ เหล่านี้ สามารถนำความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในการพัฒนาการสอน การวิจัย การปฏิบัติงานวิจัยที่ใช้สัตว์ทดลองในเชิงวิชาการ

     

    1. ประโยชน์ต่อหน่วยงาน (ระดับงาน/หลักสูตร/คณะ)

    สำหรับประโยชน์ต่อหน่วยงาน ความรู้ที่ได้สามารถนำความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในการสอน การวิจัย ให้สามารถสร้างงานวิจัยที่ใช้สัตว์ทดลองได้ถูกต้องและเป็นตามแนวทางด้าน จรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลองเพื่องานทางวิทยาศาสตร์ ทราบกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง และหัวข้ออื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับจรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลอง เช่น ด้านสถิติ เหล่านี้ สามารถนำความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในการพัฒนาการสอน การวิจัย ถ่ายทอดแก่นักศึกษา ผู้สนใจ เพื่อนร่วมงานและทีมวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานโดยรวม

     

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1199
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ความรู้จากการเข้าร่วมอบรม/สัมมนา/ประชุมวิชาการ » การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 17 เนื่องในวโรกาสคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ครบ 119 ปี เรื่อง “งานวิจัยและนวัตกรรมสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG Bio-Circular-Green Economy”
ตามที่คณะวิทยาศาสตร์ ได้อนุญาติให้ข้าพเจ้า นางอัจฉรา แกล้วกล้า ตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เข้าร่วมการประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 17 เนื่องในวโรกาสคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระนางเจ้...
  บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ผู้เขียน อัจฉรา แกล้วกล้า  วันที่เขียน 31/3/2567 11:09:58  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 29/4/2567 5:10:17   เปิดอ่าน 47  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง