โครงการจัดการการเรียนการสอนที่ดีเพื่อปลูกฝังผู้เรียนมีความคิดใหม่ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ และการคิดค้นนวัตกรรม2566
วันที่เขียน 9/2/2566 11:10:45     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 28/4/2567 1:52:53
เปิดอ่าน: 514 ครั้ง

การออกแบบการจัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์ AUN QA version 4ต้องอาศัยหลักการTeaching methodเพื่อแก้ปัญหาการเรียนที่น่าเบื่อ เช่น อาจารย์พูดคนเดียวตลอดเช่น lecture คนเดียว ไม่ได้ให้ผู้เรียน มีส่วนร่วม ให้เปลี่ยนมาเป็นการเรียนที่สนุกสุด ๆเช่นการที่มีการสอนโดยมีนักศึกษาเป็นศูนย์กลางให้ทุกคนสามารถแสดงความคิดเห็น เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อก่อให้เกิดการกระตุ้นผู้เรียนให้คิดอาจแบ่งเป็นความคิดสร้างสรรค์และ คิดเชิงนวัตกรรมโดยความคิดเชิงสร้างสรรค์ซึ่งเป็นองค์ประกอบภายในต้องมีการผสมผสานknowledge skill attribute ต้องมีการแลกเปลี่ยนต้องมี creative thinking ต้องทำให้กล้าคิดไม่ยอมแพ้ กระตุ้นสร้างแรงจูงใจ ต้องกระตุ้นเรื่อย ๆ แต่อย่ามากเกินไปจะก่อให้เกิดความเครียดให้ผู้เรียนมากเกินไปส่วนความคิดเชิงนวัตกรรมจะต้องมีการเติมมูลค่าในการทำให้เกิดการคิดสร้างสรรค์ต้องมีประโยชน์กับส่วนรวมเช่น ชุมชน หมู่บ้าน ประเทศชาติต้องมีการพลิกมุม ต้องมีการ creative ต้องเป็นประโยชน์ ชัดเจน ต้องมีฐานข้อมูลและต้องมี big data การสอนที่ดีต้องอาศัยบทบาทที่สำคัญของผู้สอนดังนี้คือ ลักษณะผู้สอนที่ดีต้องชมด้วยความจริงใจยอมรับความมีค่าของแต่ละบุคคล อาจมีการชมในห้องหรือมีการชมส่วนตัว ห้ามpromote คนใดคนหนึ่งในห้อง ต้องผ่อนคลาย ต้องใส่ใจ สนใจในคุณค่าของทุกคนต้องถามว่าทำไมคิดแบบนี้ ต้องกระตุ้นไปเรื่อย ๆ และะการออกแบบการสอน-ต้องมีการแลกเปลี่ยนลักษณะที่สำคัญ1.ต้องมีแรงจูงใจการกระตุ้นแรงจูงใจต้องสร้างพื้นที่ปลอดภัย ไม่มีการตำหนิ สร้างความภูมิใจ2. การอบรมเลี้ยงดู3.ต้องมีบุคลิกภาพที่ดี 4.สมองดี และ5.สภาพแวดล้อมดีและเหมาะสมต่อการเรียนการสอน เทคนิคการสอน 1.LECTURE การสอนแบบบรรยายอย่างเดียว 2.DEMONSTRATION การสาธิตประกอบการสอน 3.EXPERIMENT การมีdirection lab มีการสรุปผลและวิจารณ์ผล 4.DEDUCTION/INDUCTION DEDUCTION คือต้องมีการพิสูจน์ทฤษฎี INDUCTIONคือต้องมีการสร้างทฤษฎีใหม่ 5.FIELD TRIP ใช้แหล่งเรียนรู้ ร่วมกับcreative สร้างproject 6.SMALL GROUP DISCUSSION การแบ่งเป็นกลุ่มเล็ก ๆในการเรียนการสอน 7.ROLE PLAYING เป็นบทบาทสมมุติ เป็นการประเมินสิ่งแวดล้อมให้เขาเป็นผู้นำชุมชน ผู้ใหญ่บ้านมาdebaseกัน 8.DRAMATIZATION เช่น การแสดงละคร ต้องมีการร่างบทสนทนา เช่น Science show 9.SIMULATION เริ่มด้วยการจำลองสถานการณ์ต่าง ๆ 10.COOPERATIVE LEARNING เป็นการร่วมมือแบบจิกซอ 11.WORK-INTEGRATED LEARNING การทำงานร่วมกันคล้ายสถานประกอบการ 12.PHENOMENON-BASED LEARNING เป็นปรากฏการณ์ที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง เช่น โครงการบ้านโป่ง แม่โจ้ จัดเป็นจมูกของเชียงใหม่เป็นต้น 13.PROBLEM-BASED LEARNING เช่น การทำปัญหาพิเศษ

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1322
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
Data Science คืออะไร และนำมาใช้ประโยชน์อย่างไร » Data Science คืออะไร และนำมาใช้ประโยชน์อย่างไร
Data Science หรือ วิทยาการข้อมูล หมายถึง การนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ โดยครอบคลุมตั้งแต่ขั้นตอนการเก็บข้อมูล (Collect) การจัดการข้อมูล (Manage) การวิเคราะห์ข้อมูล (Analyze) ไปจนถึงขั้นตอนการนำข้อมูลมาช...
Data Science  วิทยาการข้อมูล     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ธวัชชัย เพชรธาราทิพย์  วันที่เขียน 24/4/2567 13:27:01  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 19:59:28   เปิดอ่าน 18  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5 มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5 ในวันที่ 28 มีนาคม 2567 เวลา 08.00 - 17.00 น. ณ ห้องเอกภพวิทยา ชั้น G อาคารจุฬาภรณ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจัดโดย...
ChatGPT  การประชุมวิชาการ  เทคโนโลยี  วิทยาศาสตร์  สิ่งแวดล้อม     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 11/4/2567 15:19:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 16:30:02   เปิดอ่าน 32  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าอบรม สัมมนาหรือประชุมวิชาการ » รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมและนำเสนอผลงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมและนำเสนอผลงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5
รายงานสรุปเนื้อหา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิริพร สมุทรวชิรวงษ์  วันที่เขียน 2/4/2567 16:14:15  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 17:27:49   เปิดอ่าน 53  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง