รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่ม :  : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อแบ่งปันประสบการณ์ กิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละกลุ่มงาน
Data Science คืออะไร และนำมาใช้ประโยชน์อย่างไร » Data Science คืออะไร และนำมาใช้ประโยชน์อย่างไร
Data Science หรือ วิทยาการข้อมูล หมายถึง การนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ โดยครอบคลุมตั้งแต่ขั้นตอนการเก็บข้อมูล (Collect) การจัดการข้อมูล (Manage) การวิเคราะห์ข้อมูล (Analyze) ไปจนถึงขั้นตอนการนำข้อมูลมาช่วยตัดสินใจ (Decision) Data Science เป็นกระบวนการที่นำเอาข้อมูลมหาศาลมาใช้ให้เกิดประโยชน์และสร้างมูลค่าต่อธุรกิจ โดยจะต้องมีผู้เชี่ยวชาญที่เรียกว่า Data Expert หรือ Data Scientistในการจัดการและนำข้อมูลที่มีอยู่มาทำ Data Cleansing และนำมาวิเคราะห์เพื่อหาองค์ความรู้ใหม่จากชุดข้อมูลที่มีอยู่ และนำมาพัฒนาปรับปรุงการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
คำสำคัญ : Data Science  วิทยาการข้อมูล  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 16  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ธวัชชัย เพชรธาราทิพย์  วันที่เขียน 24/4/2567 13:27:01  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 1:34:10
พัฒนาตนเอง จเร » เข้าร่วมโครงการ เสริมสร้างวิสัยทัศน์และพัฒนาการบริหาร จัดการสำนักงานคณบดี คณะวิทยาศาสตร์ ประจำปี 2567 เมื่อ วันที่ 3 เมษายน 2567
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 28  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน จเร ตุ่นคำ  วันที่เขียน 22/4/2567 10:04:24  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 2:07:11
สรุปรายงานจากการอบรม » การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการอ่านลำดับสายยาวด้วย oxford nanopore sequencing
ทคโนโลยี nanopore เป็นเทคโนโลยีการหาลำดับ DNA และ RNA แบบสายยาวต่อเนื่อง โดยไม่ต้องใช้กระบวนการสังเคราะห์ DNA ต้นแบบ ไม่ทำต้องปฏิกิริยา PCR จึงทำให้การวิเคราะห์ลำเบสต่างๆมีความแม่นยำ รวดเร็ว และประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก หลักการของ nanopore sequencing คือ การผ่านกระแสไฟฟ้าข้ามรูขนาดเล็ก nanopore สนามไฟฟ้าจะทำให้เกิดแรงขับโมเลกุลกรดนิวคลิอิกโครงสร้างสายเดี่ยวผ่านระดับนาโนเมตร การผ่านรูของกรดนิวคลิอิกแต่ละตัวจะถูกตรวจจับโดยการเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้าระหว่างการเคลื่อนที่ผ่านรูของนิวคลิโอไทด์ เมื่อ nucleotides ผ่านเข้าไปใน nanopore จะเกิดรูปแบบกระแสไฟฟ้าที่มีการแปรสัญญาณแสดงออกมาเป็นกราฟ แล้วจะถูกนำไปแปลงผลให้เป็น nucleotide แต่ละตัว โดยมีความเร็วในการอ่านประมาณ 450 เบสต่อวินาที การวิเคราะห์นี้จะใช้เวลาสั้นและมีค่าใช้จ่ายน้อย
คำสำคัญ : DNA sequencing, nanopore technology  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 24  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วริศรา สุวรรณ  วันที่เขียน 17/4/2567 14:00:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 3:28:17
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5 มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5 ในวันที่ 28 มีนาคม 2567 เวลา 08.00 - 17.00 น. ณ ห้องเอกภพวิทยา ชั้น G อาคารจุฬาภรณ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจัดโดยคณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ และคณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ
คำสำคัญ : ChatGPT  การประชุมวิชาการ  เทคโนโลยี  วิทยาศาสตร์  สิ่งแวดล้อม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 31  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 11/4/2567 15:19:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 5:02:38
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าอบรม สัมมนาหรือประชุมวิชาการ » รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ International Conference on Science Technology and Innovation ครั้งที่ 4
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ International Conference on Science Technology and Innovation ครั้งที่ 4
คำสำคัญ : รายงานสรุปเนื้อหา  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 646  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ศิริพร สมุทรวชิรวงษ์  วันที่เขียน 2/4/2567 16:15:33  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 5:19:03
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าอบรม สัมมนาหรือประชุมวิชาการ » รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมและนำเสนอผลงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมและนำเสนอผลงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5
คำสำคัญ : รายงานสรุปเนื้อหา  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 52  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ศิริพร สมุทรวชิรวงษ์  วันที่เขียน 2/4/2567 16:14:15  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 1:49:18
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 4th International Conference on Science Technology & Innovation-Maejo University (4th ICSTI-MJU) Hybrid conference (Online & Onsite)
การเข้าร่วมประชมวิชาการระดับนานาชาติ The 4th International Conference on Science Technology & Innovation-Maejo University (4th ICSTI-MJU) Hybrid conference (Online & Onsite) ในวันที่ 29 มีนาคม 2567 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ทางด้านวิชาการ ในหัวข้อที่สนใจ ได้แก่ คณิตศาสตร์ สถิติ คอมพิวเตอร์และนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาปรับใช้ในด้านการวิจัย การเรียนการสอน ในรายวิชาในหลักสูตรฯ ต่อไป
คำสำคัญ : Conference  Statistics  ประชุมวิชาการ  ระดับนานาชาติ  วิจัย  วิชาการ  วิทยาศาสตร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 692  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 1/4/2567 9:38:12  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 5:19:04
ความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง » Assignment in Microsoft Teams
การมอบหมายงาน (Assignment ) สำหรับนักศึกษาในห้องเรียน ระบบ Microsoft Teams สร้างความสะดวกในการมอบหมายงานให้กับนักศึกษา การส่งงาน และสามารถให้คะแนนนักศึกษาแต่ละคนในห้องเรียน สำหรับผู้ที่อยู่ในสถาบันการศึกษา สามารถใช้งานโปรแกรม Microsoft Teams ได้ฟรี โดยผู้ใช้งานต้องมี license ที่ได้รับการอนุญาต
คำสำคัญ : Assignment  Microsoft Teams  การมอบหมายงาน  การให้คะแนน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 132  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุภาพรรณ อนุตรกุล  วันที่เขียน 26/3/2567 18:01:20  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 4:56:49
อบรม การพัฒนางานประจำสู่นวัตกรรมการให้บริการ » การพัฒนางานประจำสู่นวัตกรรมการให้บริการ
การปฏิบัติงานในยุคปัจจุบัน ผู้ปฏิบัติงาน นอกจากจะต้องมีความรู้ความสามารถในงานที่ทำแล้ว สิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้คือการพัฒนา ซึ่งการพัฒนาตนเองทำให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดองค์ความรู้ใหม่ๆ เกิดทักษะใหม่ๆ ที่จะนำมาใช้ปรับปรุงการทำงานประจำให้ดีขึ้นได้ ดังนั้น การอบรมเรื่องการพัฒนางานประจำสู่นวัตกรรมการให้บริการ จึงเป็นหัวข้อที่น่าสนใจ ตรงกับแนวทางการปฏิบัติงานของสายสนับสนุน ที่มีหน้าที่สนับสนุนภารกิจของสถาบันการศึกษา ได้แก่ การผลิตบัณฑิต การวิจัยและพัฒนา การบริการทางวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม เป็นต้น บทบาทของสายสนับสนุน ช่วยสนับสนุนการดำเนินการของสายวิชาการ และผู้บริหาร เพื่อให้บรรลุภารกิจของมหาวิทยาลัย โดย ช่วยวิเคราะห์ สังเคราะห์ หรือวิจัย เพื่อหาทางเลือก ข้อดีข้อเสีย พร้อมแนวทางการตัดสินใจ ให้กับฝ่ายบริหารหรือสายวิชาการ ให้เป็นไปตามระเบียบและทันสมัย รวมทั้งต้องมีความชำนาญในหน้าที่ของตน
คำสำคัญ : การพัฒนา  งานประจำ  นวัตกรรม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานบริการการศึกษา
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 81  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน กฤตาณัฐ ศรีประภา  วันที่เขียน 22/3/2567 8:02:36  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 25/4/2567 16:48:53
ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมประชุม/อบรม/สัมมนา » Google Sites สร้างเว็บไซต์ได้อย่างง่ายดาย
Google Sites คือโปรแกรมหนึ่งของ บริษััท Google ที่เปิดให้ สมาชิกของ Google สามารถ สร้างเว็บไซต์ของตนเองได้ฟรี โดยการสร้างเว็บไซต์ ด้วย Google Sites นั้น ทำได้ง่าย เหมือนกับการแก้ไข เอกสารธรรมดา ๆ ชิ้นหนึ่ง ผู้ใช้สามารถปรับแต่งรูป ลักษณ์ของเว็บไซต์ ได้อย่างอิสระ และมีข้อมูลที่หลากหลายรูปแบบ เช่น ข้อความ วิดีโอ ปฏิทิน เอกสาร ไฟล์งาน ฯลฯ อีกทั้งยังสามารถกำหนดให้ ผู้อื่นเข้ามาร่วมจัดการเว็บไซต์ร่วมกัน รวมไปถึงสามารถกำหนดให้เว็บไซต์ เป็นส่วนตัวหรือ สาธารณะก็ได้อีกด้วย
คำสำคัญ : Google Sites  เว็บไซต์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 228  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุภาพรรณ อนุตรกุล  วันที่เขียน 11/3/2567 17:19:12  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 21:22:27
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในวารสารในประเทศและวารสารต่างประเทศ
การเขียนบทความทางวิชาการเพื่อให้ได้ตีพิมพ์ในวารสารในประเทศและวารสารต่างประเทศนั้น เป็นสิ่งที่สำคัญ และจำเป็นสำหรับบุคลากรสายวิชาาร เนื่องจากหลังจากที่ทำการศึกษา วิจัย ค้นคว้า ทดลองสิ่งใหม่ ๆ ๆได้แล้วนั้น ขั้นตอนต่อมาก็คือ การเผยแพร่ผลงานวิชาการนั้น เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อแวดวงวิชาการในสาขานั้น ๆ อีกทั้งยังเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหัวข้อใหม่ ทางด้านวิชาการในศาสตร์นั้น ๆ ซึ่งหนึ่งช่องทางในการนำเสนอข้อมูลนั้น ได้แก่ การตีพิมพ์บทความทางวิชาการในระดับชาติหรือระดับนานาชาตินั่นเอง ดังนั้นเทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการ จึงเป็นสิ่งที่สำคัญ และจำเป็นต่อวงการวิชาการ
คำสำคัญ : Chat GPT  บทความวิชาการ  วารสาร  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 80  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 4/3/2567 10:52:45  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 13:00:08
การเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ » เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในวารสารในประเทศและวารสารนานาชาติ กับการใช้ ChatGPT
ปัจจุบัน ChatGPT มีบทบาทในการช่วยเขียนบทความ เขียนรายงาน หรือเขียนวิทยานิพนธ์ มากขึ้น แต่ทั้งนี้ อาจเข้าข่ายคัดลอกหรือขโมยผลงานวิชาการ (plagiarism) หากใช้ไม่ถูกวิธี ผู้ใช้งานควรใช้งานโดยตระหนักถึงความรับผิดชอบและจริยธรรมด้วย ผู้ใช้ ChatGPT ต้องไม่ลืมให้การอ้างอิงที่ถูกต้องและเหมาะสม เพราะข้อความที่สร้างโดย ChatGPT จะถูกดึงมาจากหลากหลายแหล่ง
คำสำคัญ : ChatGPT  จริยธรรม  บทความ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 189  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ลัคนา วัฒนะชีวะกุล  วันที่เขียน 29/2/2567 11:57:56  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 7:30:40
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการติดตามบุคคลากรคณะวิทยาศาสตร์ที่ครบกำหนดในการดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น กิจกรรมที่ 1 การสร้างความรู้เกี่ยวกับการขอตำแหน่งทางวิชาการ
โครงการติดตามบุคคลากรคณะวิทยาศาสตร์ที่ครบกำหนดในการดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น กิจกรรมที่ 1 การสร้างความรู้เกี่ยวกับการขอตำแหน่งทางวิชาการ ในวันที่ 24 มกราคม 2567 เวลา 08.30 - 15.00 น. ณ ห้องประชุม 2 อาคารจุฬาภรณ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
คำสำคัญ : การขอตำแหน่งทางวิชาการ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 76  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 23/2/2567 23:01:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 15:37:42
การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ในงาน The ๑๔th International Conference on Advanced Materials Research (ICAMR ๒๐๒๔) » Study of Two synthesized Methods of Gold Nanoparticles Synthesis using Fresh Flowers Extracts of Clitoria ternatea
Gold nanoparticles (AuNPs) have been extensively used for applications in drug delivery. They play an important role for transport and release of bioactive substances and pharmaceuticals into cell types. Many synthesized methods for AuNPs have been reported. The principle of synthesized AuNPs is the conversion of metallic gold into nano-particulate gold by reducing agent. Butterfly pea (Clitoria ternatea) is a plant in species belonging of Fabaceae family. In Thailand, this flower is usually used as food drinks, as a natural food colorant and healthy beverages. Butterfly pea flower extract can be used as reducing agent in synthesize of AuNPs.
คำสำคัญ : ทองนาโน  อัญชัน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 97  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 30/1/2567 14:52:58  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 24/4/2567 20:35:49
ความรู้จากการเข้าร่วมอบรม/สัมมนา/ประชุมวิชาการ » สรุปเนื้อหาที่ได้รับจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2566
การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2566 “นวัตกรรมเกษตร อาหาร และสุขภาพ” session 6 เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรด้านพืช หัวข้อ เรื่อง การแก้ไขยีน Pi21 โดยระบบ CRISPR/Cas9 เพื่อให้ข้าวต้านทานโรคไหม้ การจัดกลุ่มพันธุ์ข้าวไทยด้วยลำดับนิวคลีโอไทด์ที่แตกต่างของยีนซึ่งเกี่ยวข้องกับความทนแล้ง เครื่องหมายไมโครแซตเทลไลต์ที่แยกความแตกต่างระหว่างข้าวโฟเลตสูงและต่ำ และความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีนที่เกี่ยวข้องกับการออกดอกในลำไยพันธุ์ต่าง ๆ จากการกระตุ้นด้วยสารโพแทสเซียมคลอเรต
คำสำคัญ : การแก้ไขยีน  ข้าว  ความทนแล้ง  โฟเลต  ลำไย  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 117  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ช่อทิพา สกูลสิงหาโรจน์  วันที่เขียน 22/1/2567 22:18:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 25/4/2567 11:59:44
งานวิจัยปวีณา » รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจำปี 2566
จากการได้เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจำปี 2566 เรื่อง นวัตกรรมเกษตรอาหาร และสุขภาพ ระหว่างวันที่ 21-22 ธันวาคม 2566 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ นั้น ทำให้ได้รับประโยชน์ดังนี้ (1) รับทราบและเพิ่มพูนองค์ความรู้ด้านการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านการเกษตร อาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาชน มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ทางวิชาการ จากการเผยแพร่ผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรม ในรูปแบบของการเสวนาวิชาการ และการนำเสนอบทความ ซึ่งการเข้าร่วมประชุมครั้งนี้สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ (PLOs) ในเรื่องของการมีทักษะการปฏิบัติงาน และทักษะการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร รวมถึงสาขาที่เกี่ยวข้อง (2) ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ ได้เรียนรู้กระบวนการทักษะการทำงานวิจัย เรียนรู้ทักษะการปฏิบัติงาน และทักษะการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร และมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และประสบการณ์ทางวิชาการ ได้นำองค์ความรู้มาบูรณาการกับรายวิชา ชว 412 หลักการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ชว 413 สรีรวิทยาประยุกต์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช และ 20302200 หัวข้อสนใจทางเทคโนโลยีชีวภาพ (3) ประโยชน์ต่อหน่วยงาน (ระดับงาน/หลักสูตร/คณะ) มีความร่วมมือทางวิชาการ และการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการของหน่วยงาน
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 112  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ปวีณา ภูมิสุทธาผล  วันที่เขียน 22/1/2567 14:49:36  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 14:17:27
สรุปและการนำไปใช้ประโยชน์การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจำปี 2566 » สรุปและการนำไปใช้ประโยชน์การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจำปี 2566
ความก้าวหน้าทางด้านเกษตร วิจัย และนวัตกรรมทั่วไป ปรับปรุงพันธุ์ พันธุศาสตร์ ชีววิทยาและสิ่งแวดล้อมโดยสามารถสรุปเนื้อหาสำคัญต่างได้ดังนี้คือ 1.งานวิจัยเรื่องเครื่องหมายไมโครแซตเทลไลต์ที่แยกความแตกต่างระหว่างข้าวโฟเลตสูงและต่ำ เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้มีปริมาณโฟเลตสูงโดยการทดลองครั้งนี้มีการใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอจำนวน 27 เครื่องหมาย พบว่า 5 เครื่องหมาย ได้แก่ RM3042 RM13473 RM18828 RM6082 และ RM2482 เครื่องหมายดีเอ็นเอเหล่านี้จะนำไปใช้ในการตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างเครื่องหมายดีเอ็นเอกับปริมาณโฟเลตในประชากร F 2 ต่อไปซึ่งศึกษาเครื่องหมายดีเอ็นเอชนิดไมโครแซตเทลไลต์ที่สามารถตรวจสอบความแตกต่างระหว่างข้าวที่มีปริมาณโฟเลตสูงจำนวน 2 พันธุ์ ได้แก่ ขี้ตมแดง และเจ้าเหลืองและข้าวที่มีโฟเลตต่ำแต่คุณภาพการหุงต้มดีเป็นที่นิยมบริโภคจำนวน 4 พันธุ์ ได้แก่ กข 43 ไรซ์เบอรี่ ปทุมธานี 1และเจ้าก่ำหอมแม่โจ้ 1 เอแสดงความแตกต่างของขนาดแถบดีเอ็นเอระหว่างพันธุ์ข้าวที่มีปริมาณโฟเลตสูงและต่ำ 2.งานวิจัยเรื่อง การแก้ไขยีน Pi21 โดยระบบ CRISPR/Cas9 เพื่อให้ข้าวต้านทานโรคไหม้ (ณัฐพงและคณะ,2566)ศึกษาพบว่า ยีน Pi21 มี ผลควบคุมเชิงลบต่อความต้านทานโรคไหม้โดยเป็นที่สำคัญที่เกิดจากเชื้อราทำให้เกิดการสูญเสียผลผลิตของข้าวอย่างรุนแรงในทุกปี งานวิจัยนี้จึงศึกษาลำดับเบสของยีน Pi21/pi21 ที่เกี่ยวข้องกับความ ต้านทานโรคไหม้ และแก้ไขยีน Pi21 ด้วยระบบ CRISPR/Cas9 เพื่อให้ข้าวมีความต้านทานต่อโรคไหม้เพิ่มมากขึ้น โดยค้นหายีนPi21/pi21 ด้วยเทคนิคพีซีอาร์แล้ววิเคราะห์ลำดับเบส พบว่า ยีน Pi21 ในข้าว 3 พันธุ์ ได้แก่ หางยี 71 ขาวดอกมะลิ 105 และ Kasalath เป็น Haplotype C ที่จะพบในพันธุ์ข้าวอ่อนแอต่อโรคไหม้ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงได้ ออกแบบ sgRNA ของระบบ CRISPR/Cas9 มีตำแหน่งอยู่ที่เอกซอน 1 เพื่อให้เกิดการแก้ไขยีน Pi21 ที่จะกระทบต่อ บริเวณสำคัญของยีนทำให้ยีนไม่ทำงาน การถ่าย construct เข้าสู่ข้าวพันธุ์ Kasalath พบว่า มีประสิทธิภาพการถ่าย ยีนสูง และเมื่อนำต้นที่มีการแทรกของยีนระบบ CRISPR/Cas9 มาวิเคราะห์ลำดับเบสพบว่า มีการแก้ไขยีนแบบ biallelic หรือ heterozygous จึงจะนำเมล็ดข้าวรุ่น T1 ปลูกเพื่อวิเคราะห์รูปแบบการแก้ไขยีน Pi21 และทดสอบ ความต้านทานโรคไหม้ต่อไป 3.งานวิจัยเรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีนที่เกี่ยวข้องกับการออกดอกในลำไยพันธุ์ต่าง ๆ จากการกระตุ้นด้วยสารโพแทสเซียมคลอเรตการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของลำไยทั้งหมด 32 พันธุ์ โดยวิเคราะห์รูปแบบของชิ้นส่วนดีเอ็นเอที่ถูกเพิ่มจำนวนด้วยวิธีพีซีอาร์ โดยใช้คู่ไพรเมอร์ทั้งหมด 7 คู่ไพรเมอร์ที่ออกแบบมาจากลำดับนิวคลีโอไทด์ของชิ้นส่วนยีนที่แสดงออกแตกต่างกันระหว่างตัวอย่างลำไยที่ไม่ได้รับและได้รับสารโพแทสเซียมคลอเรตซึ่งมีความสามารถในการกระตุ้นการออกดอกของลำไย ผลการทดลองพบว่าไพรเมอร์จำนวน 7 คู่ไพรเมอร์ มีอุณหภูมิในขั้นตอน Annealing อยู่ระหว่าง 56 – 60 องศาเซลเซียส ซึ่งไพรเมอร์ชนิด “LcAF9” เป็นไพรเมอร์ที่ให้ผลการทดลองที่ดีที่สุด สามารถเพิ่มปริมาณชิ้นส่วนดีเอ็นเอได้อย่างจำเพาะ ปรากฎแถบดีเอ็นเอที่เห็นได้ชัดเจนและแสดงความแตกต่างทางพันธุกรรม ซึ่งมีลำไย 3 พันธุ์ ได้แก่ เบี้ยวเขียว แห้ว และเถา ปรากฏแถบของดีเอ็นเอมากกว่า 1 แถบ แตกต่างจากลำไยพันธุ์อื่น ๆ ที่ปรากฏแถบเพียงแถบเดียวเท่านั้น เปรียบเทียบกับฐานข้อมูล ซึ่งข้อมูลที่ได้จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการศึกษากลไกการออกดอกของลำไย 4.เรื่องการเพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือใช้ทางด้านการเกษตร ทำให้สามารถมีความรูความเข้าใจในกาสร้างมูลค่าผลิตภัณฑ์ว่าจะต้องมีการพัฒนาและต่อยอดอย่างไรบ้างจึงจะก่อให้เกิดความสำเร็จ 5.กลยุทธ์การปั้นธุรกิจการเกษตรเพื่อความยั่งยืน โดยทำให้ทราบว่าภาคธุรกิจได้ช่วยเหลือเกษตรกรโดยมีการรับซื้อใบอ้อยมูลค่าเกือบตนบาทต่อตัน ทำให้เกษตรกรลดการเผาใบอ้อยลงไปมาก่อให้เกิดผลดีในการลดภาวะต่างๆรวมทั้งลดโลกร้อนด้วย สรุปฟังประชุมวิชาการด้านพันธุศาสตร์ทำให้สามารถเข้าใจถึงเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่มาช่วยทำให้การปรับปรุงพันธุ์พืชต่าง ๆสำเร็จได้รวดเร็วยิ่งขึ้นและการบรรยายพิเศษด้านการใช้วัสดุเหลือใช้มาสร้างมูลค่าเช่นการรับซื้อเศษวัสดุทางการเกษตรทำให้มีการลดการเผาวัสดุลงไปอย่างมาก
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 143  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ทุเรียน ทาเจริญ  วันที่เขียน 11/1/2567 13:44:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 2:44:17
ความรู้จากการเข้าร่วมอบรม/สัมมนา/ประชุมวิชาการ » การนำเสนอผลงานแบบบรรยายใน The Seventh International Symposium on Intelligent Systems Technologies and Applications (ISTA’23)
การประชุมวิชาการ "The Seventh International Symposium on Intelligent Systems Technologies and Applications (ISTA’23)" จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 7 ระหว่างวันที่ 18-20 ธันวาคม 2566 เป็นงานประชุมวิชาการในระดับนานาชาติที่รวบรวมงานวิจัยจากนักวิจัยหลากหลายสาขา มีการแบ่งกลุ่มงานวิจัยออกเป็น 6 กลุ่ม ได้แก่ Intelligent Tools and Techniques, Applications using Intelligent Techniques, Intelligent Image Processing and Artificial Vision, Intelligent Techniques for Wireless Sensor Networks and IoT, Business Intelligence and Big Data Analytics และ Intelligent Distributed Computing โดยจากการที่เข้าร่วมงานประชุมฯ ในครั้งนี้ ข้าพเจ้าได้รับฟังการนำเสนอผลงานและนำเสนองานวิจัยในหัวข้อ "Deep Learning Methods for Multivariate Stock Price Data using Differential Evolution Weight Optimization on the Linear Combination Technique" พร้อมทั้งมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็นจากนักวิจัย นักวิชาการ ที่เข้าร่วมและนำเสนอผลงานทางวิชาการ นอกจากนี้ยังนำไปสู่การกระตุ้นให้เกิดแนวทางการวิจัยในระดับนานาชาติ และได้เรียนรู้ถึงแนวทางการทำงานวิจัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องอีกด้วย
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 117  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน มัลลิกา ราชกิจ  วันที่เขียน 10/1/2567 12:43:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 19:25:33
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมงานประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา (Course Learning outcomes: CLOs) ให้สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ (Program Learning Outcomes: PLOs) ของหลักสูตร กิจกรรมที่ 1
ได้เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา (Course Learning outcomes: CLOs) ให้สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ (Program Learning Outcomes: PLOs) ของหลักสูตร กิจกรรมที่ 1 วันที่ 7 พฤศจิกายน 2566 เวลา 9:00 - 14:00 น. ณ ห้องประชุม 2 อาคารจุฬาภรณ์ คณะวิทยาศาสตร์ โดยได้รับฟังวิทยากร และฝึกเขียนตัวอย่างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนระดับรายวิชา (Course Learning outcomes: CLOs) ใน มคอ.3 บางรายวิชา ที่สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้(Program Learning Outcomes: PLOs) ของหลักสูตร เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหลักสูตรอื่น ๆ
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 104  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน เพชรลดา กันทาดี  วันที่เขียน 9/1/2567 17:20:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 13:57:26
พัฒนาตนเอง-นงคราญ » “การผลิตคราฟต์เบียร์ ขนาด 20 ลิตร"
จากการเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร “อุดมคติ On Tour" เรื่องหัวข้อ “การผลิตคราฟต์เบียร์ ขนาด 20 ลิตร วันที่ 25 พฤศจิกายน 2566 ได้รับความรู้เกี่ยวกับการผลิตคราฟต์เบียร์ และได้ฝึกปฏิบัติกระบวนการผลิตคราฟต์เบียร์ ขนาด 20 ลิตร ที่สามารถนำไปลองทำด้วยตนเองได้ ซึ่งเป็นความรูู้ที่น่าสนใจและอยากเผยแพร่ให้ผู้อ่านได้รับข้อมูลและสาระจากบทความนี้
คำสำคัญ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ  การผลิตคราฟต์เบียร์  เบียร์ (ฺBeer)  พัฒนาตนเอง  อบรม  อบรมเชิงปฏิบัติการ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 725  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 9/1/2567 14:47:56  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 0:49:37
การพัฒนาตนเอง » ความสำคัญของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีควบคุมสาขาการผลิตการควบคุมและการจัดการสารเคมีอันตราย
เข้าร่วมเสวนา เรื่อง ความสำคัญของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีควบคุมสาขาการผลิตการควบคุมและการจัดการสารเคมีอันตราย เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2566 ผ่านโปรแกรม Zoom Cloud Meetings
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 149  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน จิราภรณ์ กิติกุล  วันที่เขียน 9/1/2567 13:42:38  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 25/4/2567 16:48:55
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมงานประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมโครงการเสวนาของสภาวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง "ความสำคัญของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีควบคุม สาขาการผลิต การควบคุมและการจัดการสารเคมีอันตราย"
ได้เข้าร่วมโครงการเสวนาของสภาวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง "ความสำคัญของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีควบคุม สาขาการผลิต การควบคุมและการจัดการสารเคมีอันตราย" เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2566 เวลา 13.30-16.00 น. ผ่านโปรแกรม Zoom Cloud Meetings การกล่าวเปิดเสวนาโดยนายกสมาคมสภาวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเสวนาและการตอบข้อซักถามในประเด็นที่เกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มพูนความรู้ พัฒนาศักยภาพ สร้างความตระหนักรู้ และคุณประโยชน์ของการประกอบวิชาชีพโดยได้รับใบอนุญาต รวมถึงมุมมองภาคอุตสาหกรรมเคมีกับใบประกอบวิชาชีพ
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 78  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน เพชรลดา กันทาดี  วันที่เขียน 9/1/2567 11:53:00  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 13:58:07
การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2566 » การตั้งตำรับครีมบำรุงผิวกายที่มีน้ำมันหอมระเหยและสารสกัดจากดอกกุหลาบมอญ
กุหลาบมอญสุโขทัย (Damask rose) มีชื่อวิทยาศาสตร์คือ Rosa damascena เป็นดอกกุหลาบที่พบทั้งดอกสีชมพูอ่อนถึงเข้มและสีแดง นิยมนำมาสกัดเป็นน้ำมันกุหลาบเพื่อใช้ในการผลิตน้ำหอมและผลิตเป็นน้ำกุหลาบใช้ในการแต่งกลิ่นในอาหารและเครื่องดื่ม นอกจากนี้ กลีบดอกกุหลาบสามารถนำมาผลิตเป็นชาสุมนไพร ในงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสกัดน้ำมันหอมระเหยและสารสกัดจากดอกกุหลาบมอญสุโขทัยด้วยเทคนิคการสกัดโดยใช้คลื่นไมโครเวฟช่วย และศึกษาสมบัติทางกายภาพและเคมีของส่วนสกัดทั้งสองชนิด นอกจากนี้ ได้ตั้งตำรับครีมบำรุงผิวกายที่มีส่วนประกอบของน้ำมันหอมระเหยและสารสกัดจากดอกกุหลาบ และทดสอบความคงตัวของตำรับครีมบำรุงผิวกาย ผลการทดสอบพบว่าปริมาณร้อยละผลผลิตของน้ำมันหอมระเหยและสารสกัดเท่ากับ 0.12 และ 30.25 ตามลำดับ ปริมาณฟีนอลิกรวมของน้ำมันหอมระเหยกุหลาบและสารสกัดมีค่าเท่ากับ 212.23±2.4 และ 438.39±3.1 mg GAE/g extract ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH ของน้ำมันหอมระเหยกุหลาบและสารสกัดดอกกุหลาบที่ทดสอบพบว่ามีค่า IC50 เท่ากับ 6.98 และ 5.78 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร (g/mL) (IC50 ของโทรล็อกซ์เท่ากับ 4.67 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร) และปริมาณฟวาโวนอยด์รวมของน้ำมันหอมระเหยกุหลาบและสารสกัดดอกกุหลาบมีค่าเท่ากับ 100.22±1.3 และ 169.94±2.3 mg QE/g extract ตามลำดับ สารสกัดและน้ำมันหอมระเหยนำมาพัฒนาเป็นตำรับครีมบำรุงผิว พบว่าเนื้อครีมมีสีชมพูอ่อน กลิ่นดอกกุหลาบ มีค่ากรดด่างเท่ากับ 5.15-5.50 เนื้อครีมมีการกระจายตัวคงที่เมื่อทดสอบที่อุณหภูมิห้องและที่สภาวะเร่งเป็นเวลา 3 เดือน และมีความคงตัวไม่แยกชั้น
คำสำคัญ : ดอกกุหลาบมอญสุโขทัย  ดอกกุหลาบมอญสุโขทัย สารสกัดดอกกุหลาบ  น้ำมันหอมระเหยดอกกุหลาบ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 91  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 4/1/2567 15:00:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 2:32:55
การประชุมวิชาการระดับชาติ » งานประชุมวิชาการระดับชาติประจำปี 2566 เรื่อง นวัตกรรมเกษตรอาหาร และสุขภาพ
จากการได้เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติซึ่งการจัดการประชุมเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรทางการศึกษา วิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านการเกษตร อาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาชน มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ทางวิชาการ รวมทั้งเผยแพร่ผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมสู่สาธารณะ ในรูปแบบของการเสวนาวิชาการ และการนำเสนอบทความ ซึ่งการเข้าร่วมประชุมครั้งนี้สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ (PLOs) ในเรื่องของการมีทักษะการปฏิบัติงาน และทักษะการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร รวมถึงสาขาที่เกี่ยวข้อง เพราะการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเป็นกลไกสำคัญที่สนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ โดยเฉพาะการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ด้วยการพัฒนาการเกษตรสร้างมูลค่าสู่ภาคอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ทำให้เข้าใจถึงปัญหาซึ่งจะนำไปสู่แนวทางการวิจัยและแก้ไขปัญหาได้อย่างสัมฤทธิ์ผล และสามารถทำงานวิจัยเพื่อเอื้อประโยชน์ต่อกันในการนำผลงานวิจัยต่อยอดขยายผลสร้างประโยชน์ต่อองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และผู้สนใจทั่วไป อันจะส่งผลดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่างแท้จริง
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 134  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ภานรินทร์ ปรีชาวัฒนากร  วันที่เขียน 4/1/2567 14:54:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 14:57:03
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทบทวน Program Learning Outcomes (PLOS) และสร้าง Course Learning Outcomes (CLOs) สู่การจัดทำ มคอ.3 เเละมคอ. 5 เพื่อขับเคลื่อน AUN QA Version 4.0 กิจกรรมที่ 2 การสร้างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา » กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทบทวน Program Learning Outcomes (PLOS) และสร้าง Course Learning Outcomes (CLOs) สู่การจัดทำ มคอ.3 เเละมคอ. 5 เพื่อขับเคลื่อน AUN QA Version 4.0 กิจกรรมที่ 2 การสร้างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทบทวน Program Learning Outcomes (PLOS) และสร้าง Course Learning Outcomes (CLOs) สู่การจัดทำ มคอ.3 เเละมคอ. 5 เพื่อขับเคลื่อน AUN QA Version 4.0 กิจกรรมที่ 2 การสร้างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานบริการการศึกษา
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 115  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พัฒนพงศ์ เทียนชัย  วันที่เขียน 10/12/2566 13:41:29  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 13:30:33
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทบทวน Program Learning Outcomes (PLOS) และสร้าง Course Learning Outcomes (CLOs) สู่การจัดทำ มคอ.3 เเละมคอ. 5 เพื่อขับเคลื่อน AUN QA Version 4.0 กิจกรรมที่ 1 การสร้างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา » กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทบทวน Program Learning Outcomes (PLOS) และสร้าง Course Learning Outcomes (CLOs) สู่การจัดทำ มคอ.3 เเละมคอ. 5 เพื่อขับเคลื่อน AUN QA Version 4.0 กิจกรรมที่ 1 การสร้างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทบทวน Program Learning Outcomes (PLOS) และสร้าง Course Learning Outcomes (CLOs) สู่การจัดทำ มคอ.3 เเละมคอ. 5 เพื่อขับเคลื่อน AUN QA Version 4.0 กิจกรรมที่ 1 การสร้างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานบริการการศึกษา
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 118  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พัฒนพงศ์ เทียนชัย  วันที่เขียน 10/12/2566 13:31:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 13:30:41
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าอบรม สัมมนา หรือประชุมวิชาการ » การศึกษาที่เน้นผลลัพท์และการประเมินการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs)
การศึกษาที่เน้นผลลัพท์และการประเมินการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs) ผลลัพท์การเรียนรู้ตามคุณวุฒิแต่ละระดับ จะต้องสอดคล้องกับอัตลักษณ์ของหลักสูตร สถาบัน วิชาชีพ และบริบทของประเทศ/โลก ซึ่งประกอบด้วยอย่างน้อย 4 ด้าน ได้แก่ ความรู้ ทักษะ จริยธรรม ลักษณะบุคคล
คำสำคัญ : PLO,CLOs  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 111  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน เจนจิรา ทิพย์ชะ  วันที่เขียน 4/12/2566 14:01:08  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 24/4/2567 11:49:25
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าอบรม สัมมนา หรือประชุมวิชาการ » การศึกษาที่เน้นผลลัพท์และการประเมินการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs)
การศึกษาที่เน้นผลลัพท์และการประเมินการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs) ผลลัพท์การเรียนรู้ตามคุณวุฒิแต่ละระดับ จะต้องสอดคล้องกับอัตลักษณ์ของหลักสูตร สถาบัน วิชาชีพ และบริบทของประเทศ/โลก ซึ่งประกอบด้วยอย่างน้อย 4 ด้าน ได้แก่ 1. ความรู้ (Knowledge) คือ สิ่งที่สั่งสมมาจากการเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ที่เกิดจากหลักสูตร ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นต่อการต่อยอดในด้านความรู้เพื่อประกอบอาชีพ ดำรงชีพ และการพัฒนาที่ยั่งยืน 2. ทักษะ (Skills) คือความสามารถที่เกิดจาการเรียนรู้ ปฏิบัติให้เกิดความคล่องแคล่ว ชำนาญเพื่อพัฒนาวิชาชีพหรือวิชาการ 3. จริยธรรม (Ethics) คือพฤติกรรมหรือการกระทำของบุคคลลที่สะท้อนถึงความเป็นผู้มีคุณธรรม ศีลธรรม และจรรยาบรรณ เพื่อประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตน ทั้งต่อหน้าและลับหลังผู้อื่น 4. ลักษณะบุคคล (Character) คือบุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย และค่านิยมที่สะท้อนคุณลักษณะเฉพาะศาสตร์ วิชาชีพ และสถาบัน โดยผ่านการเรียนรู้ และฝึกประสบการณ์จากหลักสูตรให้มีความเหมาะสมกับระดับคุณวุฒิ -การเชื่อมโยง PLO สู่ CLO อาจารย์ผู้สอนต้องเห็น PLO เป็นภาพเดียวกัน ซึ่งเป็นความสามารถที่สำคัญและจำเป็นที่ผู้เรียนต้องทำได้เมื่อสำเร็จการศึกษา แล้วกำหนด CLOs หรือวัตถุประสงค์ของรายวิชาที่สอดคล้องกับ PLO และในการกำหนด CLOs จะต้องนำไปสู่การวัดประเมินผู้เรียนได้ ตามหลัก Taxonomy Bloom’s หลังจากนั้นจัดกิจกรรมการเรียน แล้ววัดและประเมินผู้เรียน - การเชื่อมโยง CLOs กับวิธีการจัดการเรียนการสอน และการประเมินในระดับรายวิชา โดยการพิจารณาในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ด้านเนื้อหาสาระ ด้านวัตถุประสงค์ ด้านการประเมินผล และ ด้านการจัดการเรียนรู้
คำสำคัญ : การเชื่อมโยง PLO สู่ CLO  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 108  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน เจนจิรา ทิพย์ชะ  วันที่เขียน 1/12/2566 10:50:50  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 24/4/2567 11:49:17
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » การกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชา CLOs ผ่าน มคอ.3
หัวข้อนี้เน้น การออกแบบหลักสูตรให้ตอบสนองต่อผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร สะท้อนถึงความต้องการ ของผู้ที่เกี่ยวข้องครบทุกภาคส่วน และผลการเรียนรู้นั้นต้องครอบคลุมทั้งความรู้ ทักษะเฉพาะทางและทักษะทั่วไป - Program Learning Outcomes (PLOs) สิ่งที่หลักสูตร ต้องการ/คาดหวัง ให้บัณฑิตเป็น เมื่อเรียนครบตามโปรแกรม ของหลักสูตร - Course Learning Outcomes (CLOs) สิ่งที่รายวิชา ต้องการ/คาดหวัง ให้นิสิตได้รับ เมื่อเรียนครบตามเนื้อหา ของรายวิชา
คำสำคัญ : CLO  ELO  PLO  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 351  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 18/11/2566 23:45:59  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 23:37:03
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » แอปพลิเคชันสำหรับช่วยในการจัดเรียนการสอน
การเรียนผ่านเครื่องมือช่วยสอนโดยใช้แอปพลิเคชันมีบทบาทในการส่งเสริมและช่วยเหลืออาจารย์และนักศึกษาเป็นอย่างมาก บทความนี้ได้รวบรวม 8 เครื่องมือช่วยสอนสำหรับอาจารย์ในการช่วยจัดการเรียนการสอนให้เกิดความสะดวกและสามารถนำไปช่วยในการจัดการสอนให้สอดคล้องกับบทเรียนได้มากยิ่งขึ้น
คำสำคัญ : Canva  Kahoot  Nearpod  Plicker  Quizizz  Storyboard  Visme  Voxer  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 248  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 18/11/2566 23:01:13  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 0:13:00