องค์ความรู้ที่ได้จากการนำเสนอผลงานวิจัยเรื่อง Effect of light intensities and atmospheric gas conditions on biohydrogen production of microalgae harvested from fisheries wastewater
วันที่เขียน 22/2/2560 14:39:44     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 29/4/2567 23:00:17
เปิดอ่าน: 1429 ครั้ง

Recently, fishery farming business has been rapidly developed due to an increasing demand of consumptions and wild fish resources depletion. This process usually generated large amount of wastewater containing high nutrients posing a threat to downstream waters. However, phytoplankton removal techniques that commonly used appear to have low efficiency, time consuming and less sustainable. Microalgae are photosynthetic microorganisms that convert solar energy into hydrogen. Using the harvested algae from fish farms as the source of renewable energy production could be a promising choice for completely handling this fishery wastewater. However, the hydrogen production processes from algae still need more studies as its efficiency varying between algae species and growth factors. In this work, the efficiency of hydrogen production from Scenedesmus sp. and Arthrospira sp. harvested from fish farms under three different light intensity conditions and three atmospheric gas conditions was determined. The results showed that the best condition for hydrogen production from both species was done under 24 hrs dark condition with carbon dioxide addition. Under the atmospheric gas combination of 99% Argon and 1% carbon dioxide, Scenedesmus sp. could produce hydrogen gas as high as 0.572 μmolH2 within 12 hrs., while highest hydrogen production (0.348 μmolH2) obtained from Arthrospira sp. was found under the atmospheric gas mixture of 98% argon and 2% carbon dioxide. Interestingly, Scenedesmus sp. appeared to produce more hydrogen than Arthrospira sp. under the same condition.

ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมการนำเสนอผลงานวิจัยเรื่อง Effect of light intensities and atmospheric gas conditions on biohydrogen production of microalgae harvested from fisheries wastewater ในงานงานประชุม The 2nd Environment and Natural Resources International Conference ในวันที่ 16-17 พฤศจิกายน 2559 ที่จัดโดย Faculty of Environement and resource studies, Mahidol university ซึ่งงานวิจัยนี้ได้ศึกษาการนำสาหร่ายจากบ่อเลี้ยงปลา 2 สายพันธุ์ มาผลิตพลังงานไฮโดรเจน โดยศึกษาผลของความเข้มแสงและองค์ประกอบของก๊าซบรรยากาศ นอกจากนี้ในยังได้รับรางวัลการนำเสนอ The outstanding poster presentation

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=620
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
Data Science คืออะไร และนำมาใช้ประโยชน์อย่างไร » Data Science คืออะไร และนำมาใช้ประโยชน์อย่างไร
Data Science หรือ วิทยาการข้อมูล หมายถึง การนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ โดยครอบคลุมตั้งแต่ขั้นตอนการเก็บข้อมูล (Collect) การจัดการข้อมูล (Manage) การวิเคราะห์ข้อมูล (Analyze) ไปจนถึงขั้นตอนการนำข้อมูลมาช...
Data Science  วิทยาการข้อมูล     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ธวัชชัย เพชรธาราทิพย์  วันที่เขียน 24/4/2567 13:27:01  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 29/4/2567 11:36:28   เปิดอ่าน 20  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5 มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5 ในวันที่ 28 มีนาคม 2567 เวลา 08.00 - 17.00 น. ณ ห้องเอกภพวิทยา ชั้น G อาคารจุฬาภรณ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจัดโดย...
ChatGPT  การประชุมวิชาการ  เทคโนโลยี  วิทยาศาสตร์  สิ่งแวดล้อม     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 11/4/2567 15:19:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 29/4/2567 11:36:36   เปิดอ่าน 35  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าอบรม สัมมนาหรือประชุมวิชาการ » รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมและนำเสนอผลงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมและนำเสนอผลงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5
รายงานสรุปเนื้อหา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิริพร สมุทรวชิรวงษ์  วันที่เขียน 2/4/2567 16:14:15  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 29/4/2567 6:03:19   เปิดอ่าน 56  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง